ลำดับและอนุกรม
ความหมายลำดับ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การหาพจน์เจาะจงของลำดับ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การหาพจน์ทั่วไปของลำดับ
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การหาพจน์ทั่วไปของลำดับโดยใช้ฟังก์ชันพหุนาม
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ลำดับเลขคณิต
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ลำดับเรขาคณิต
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อนุกรม/อนุกรมเลขคณิต
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อนุกรมเรขาคณิต
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ลิมิตของลำดับอนันต์
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

ลิมิตของลำดับอนันต์

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

ลิมิตของลำดับอนันต์

MEDIUM

ลิมิตของลำดับอนันต์

HARD

ลิมิตของลำดับอนันต์

เนื้อหา

ลิมิตของลำดับอนันต์

พิจารณาคู่ลำดับต่อไปนี้

open parentheses 1 comma 0 close parentheses comma open parentheses 2 comma 1 half close parentheses comma open parentheses 3 comma 2 over 3 close parentheses comma open parentheses 4 comma 3 over 4 close parentheses comma...

     พจน์ที่ 1 a subscript 1 equals 0
     พจน์ที่ 2 a subscript 2 equals 1 half
     พจน์ที่ 3 a subscript 3 equals 2 over 3
     พจน์ที่ 4 a subscript 4 equals 3 over 4
                  vertical ellipsis
     พจน์ที่ n a subscript n equals fraction numerator n minus 1 over denominator n end fraction
                  vertical ellipsis
เมื่อนำข้อมูลข้างต้นมาพล็อตกราฟ จะได้ดังรูปที่ 1

                               รูปที่ 1

รูปที่ 1 ด้านซ้ายมือเป็นการนำข้อมูลมาพล็อตให้อยู่ในแกน x แกนเดียว โดยแกน bold italic x คือค่าของลำดับ จะเห็นได้ว่าเมื่อ n มีค่ามากขึ้น ค่า a subscript n 
จะมีค่าเข้าใกล้ 1
รูปที่ 1 ด้านขวามือเป็นการนำข้อมูลมาพล็อตในแกน bold italic x และแกน bold italic y โดยแกน bold italic x คือค่าของ bold italic n 
แกน bold italic y คือค่าของลำดับ จะเห็นได้ว่า เมื่อ n มีค่ามากขึ้น ค่า a subscript n จะมีค่าเข้าใกล้ 1
จากตัวอย่างข้างต้น เราสามารถเขียนในรูปของลิมิตได้ดังนี้
           limit as n rightwards arrow infinity of a subscript n equals limit as n rightwards arrow infinity of fraction numerator n minus 1 over denominator n end fraction equals 1
  • สำหรับกรณีทั่วไป เราสามารถเขียนลิมิตของลำดับอนันต์ได้ดังนี้
                    limit as n rightwards arrow infinity of a subscript n equals L

     หมายถึง เมื่อ n spaceมีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ open parentheses n rightwards arrow infinity close parentheses  
 ลิมิตของลำดับ a subscript n มีค่าเท่ากับ L

ลิมิตของลำดับอนันต์

แบ่งเป็น 2 ประเภทได้แก่ ลิมิตที่หาค่าได้และลิมิตที่หาค่าไม่ได้

  1. ถ้าลำดับอนันต์สามารถหาค่าลิมิตได้ เราจะเรียกลำดับนั้นว่า ลำดับลู่เข้า (และสามารถหาค่าลู่เข้าได้)
  2. ถ้าลำดับอนันต์สามารถหาค่าลิมิตไม่ได้ เราจะเรียกลำดับนั้นว่า ลำดับลู่ออก (และไม่สามารถหาค่าลิมิตได้)

ตัวอย่างลำดับอนันต์

1. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้

n1234...
a subscript n3333

3

วิธีทำ เมื่อนำข้อมูลมาพล็อตจะได้ดังรูปที่ 2


                              รูปที่ 2

จากข้อมูลในตารางและกราฟจะเห็นได้ว่า a subscript n มีค่า
เท่ากับ 3 เสมอสำหรับทุกค่าของ n เราสามารถเขียนลิมิตของลำดับได้ดังนี้ limit as n rightwards arrow infinity of a subscript n equals 3 ดังนั้น ลำดับนี้ลู่เข้าสู่ 3

2. พิจารณาลำดับอนันต์ ว่าเป็นลำดับลู่เข้าหรือลู่ออก ถ้าเป็นลำดับลู่เข้าจะลู่เข้าสู่ค่าใด
วิธีทำ ลองแทนค่า n equals 1 comma space n equals 2 comma space n equals 3 และ n equals 4
        ใน a subscript n equals open parentheses negative 1 close parentheses to the power of n fraction numerator open parentheses n minus 1 close parentheses over denominator n end fractionจะได้ผลดังตาราง

n1234...
a subscript n01/2-2/33/43

เมื่อนำข้อมูลมาพล็อตจะได้ดังรูปที่ 3

                              รูปที่ 3 

จากกราฟจะเห็นได้ว่าเมื่อ n มีค่ามากขึ้น ค่าของ a subscript n 
แกว่งไปมาระหว่างค่าบวกและค่าลบ โดยไม่มีแนวโน้มจะลู่เข้าสู่ค่าใดๆ ดังนั้น ลำดับนี้เป็นลำดับลู่ออก