
CuSO4.5H2O มีสีฟ้า
ดังรูป
รูป ธาตุแทรนซิชัน
เช่น มีพลังงานไอออนไนเซชันลำดับที่ 1 และ อิเล็กโทรเนกาติวิตีต่ำ แต่ ธาตุแทรนซิชันมีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นสูงกว่าโลหะหมู่หลัก ขนาดอะตอมของธาตุแทรนซิชันมีขนาดใกล้เคียงกัน และมีขนาดเล็กกว่าโลหะหมู่หลักในคาบเดียวกัน
ธาตุแทรนซิชันคาบที่ 4 ส่วนใหญ่มีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็น 2 และมีจำนวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยที่ถัดจากระดับพลังงานนอกสุดเข้าไปไม่เท่ากัน
เช่น
ตารางแสดงการจัดอิเล็กตรอนของธาตุ K Ca และ ธาตุแทรนซิชันคาบที่ 4
สารประกอบของธาตุแทรนซิชันหลายชนิดมีสี ซึ่งแตกต่างจากสารประกอบของธาตุหมู่หลัก ซึ่งไม่มีสี
ตัวอย่างสีสารประกอบ
สารประกอบของธาตุแทรนซิชันมีเลขออกซิเดชันได้หลายค่า และมีสีแตกต่างกัน เช่น สารประกอบวานาเดียมมีเลขออกซิเดชันหลายค่า และมีสีที่แตกต่างกัน
ที่อุณหภูมิห้อง ธาตุหมู่หลัก เช่น
Na สามารถทำปฏิกิริยากับน้ำได้รวดเร็วและรุนแรง สำหรับ Mg ทำปฏิกิริยากับน้ำได้ช้ากว่า แต่จะเร็วขึ้นเมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ได้สาระลายที่เป็นเบส
ดังสมการ
ในขณะที่ ธาตุแทรนซิชัน เช่น ทองแดง และสังกะสี ไม่เกิดปฏิกิริยากับน้ำที่อุณหภูมิห้อง ซึ่งกล่าวได้ว่า ธาตุแทรนซิชันทำปฏิกิริยากับน้ำช้ากว่าธาตุหมู่หลัก
เอกสารอ้างอิง
https://th.play-azlab.com/zdorove/120825-bihromat-kaliya-fiziko-himicheskie-svoystva-i-oblast-primeneniya.html