อะตอมและสมบัติของธาตุ
วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และอนุภาคในอะตอมและไอโซโทป
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
หมู่ คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ของธาตุในตารางธาตุ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมบัติของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมู่และคาบ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมบัติของธาตุโลหะแทรนซิชัน และเปรียบเทียบสมบัติกับธาตุโลหะในกลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ค่าครึ่งชีวิต สมบัติของไอโซโทปกัมมันตรังสี และผลกระทบธาตุต่อสิ่งแวดล้อม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และอนุภาคในอะตอมและไอโซโทป

ยอดวิว 7.1k

แบบฝึกหัด

EASY

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และอนุภาคในอะตอมและไอโซโทป

MEDIUM

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และอนุภาคในอะตอมและไอโซโทป

HARD

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และอนุภาคในอะตอมและไอโซโทป

เนื้อหา

อะตอม

ประกอบด้วย อนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด ได้แก่

  1. นิวตรอน (n)
  2. โปรตอน (p) 
  3. อิเล็กตรอน (e-)

อย่างที่เราทราบกันดีว่า นิวตรอนมีประจุเป็นกลาง โปรตอนมีประจุบวก ส่วนอิเล็กตรอนมีประจุลบ โดยที่โปรตอนและนิวตรอนจะอยู่บริเวณนิวเคลียสของอะตอม โดยมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบ ๆ นิวเคลียส

โปรตอน มีประจุเท่ากับ +1.60 x 10-19 คูลอมบ์ 
อิเล็กตรอน มีประจุเท่ากับ -1.60 x 10-19 คูลอมบ์  
ส่วนอะตอมของธาตุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าจะมีจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน

ธาตุแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันเนื่องจาก อะตอมของธาตุแต่ละชนิดจะมีจำนวนโปรตอนเฉพาะตัวไม่ซ้ำกับธาตุอื่น ๆ จำนวนโปรตอนบ่งบอกถึง เลขอะตอม (Atomic number)

ดังนั้น ตารางธาตุในปัจจุบันได้มีการจัดเรียงตามเลขอะตอม  เนื่องจากมวลของอิเล็กตรอนมีค่าน้อยกว่ามวลของโปรตอนมาก หรือมวลของโปรตอนจะมีค่าประมาณ 1,833 เท่าของมวลอิเล็กตรอน มวลของอะตอมส่วนใหญ่เกิดจากผลรวมของมวลนิวตรอน และโปรตอนรวมกัน เรียกว่า เลขมวล (Mass number)

เช่น

ไนโตรเจนมี 7 โปรตอนจึงมีเลขอะตอมเท่ากับ 7 ซึ่งอาจจะมีจำนวนนิวตรอนเท่ากับ 7 หรือ 8 นิวตรอนทำให้มีมวลเท่ากับ 14 หรือ 15 ตามลำดับ

เลขอะตอมและเลขมวลจะเขียนแสดงในสัญลักษณ์ทาง นิวเคลียร์ (Nuclear symbol)

วิธีสากล จะเขียนเลขอะตอมไว้ด้านล่างซ้าย และเลขมวลไว้ด้านบนขวาของเลขสัญลักษณ์นิวเคลียร์

เช่น 

 N presubscript 7 presuperscript 14 และ N presubscript 7 presuperscript 15 

ดังแสดงในรูปดังนี้

จะเห็นได้ว่าอะตอมของธาตุเดียวกันจะมีจำนวนนิวตรอนได้หลายค่า ทำให้มีมวลได้หลายค่า เราเรียกอะตอมของธาตุกลุ่มนี้ว่า ไอโซโทป (Isotope)

ธาตุแต่ละชนิดสามารถมีได้หลายไอโซโทป บางไอโซโทปก็เกิดขึ้นตามธรรมชาติ บางไอโซโทปก็สังเคราะห์ขึ้น เช่น ไอโซโทปของไฮโดรเจน ได้แก่ โปรเทียม (H presubscript 1 presuperscript 1, Protium) ดิวทีเรียม (H presubscript 1 presuperscript 2, Deuterium) และ ทริเทียม (H presubscript 1 presuperscript 3, Tritium) ในธรรมชาติ พบโปรเทียมถึงร้อยละ 99.99 สัญลักษณ์นิวเคลียสสามารถเขียนแบบย่อได้เช่น 1H, 2H และ 3H หรือ H-1 H-2 และ H-3

ตัวอย่าง

ธาตุไอโซโทปอื่น ๆ ได้แก่ C presubscript 6 presuperscript 12 C presubscript 6 presuperscript 13 และ C presubscript 6 presuperscript 14 ซึ่งในธรรมชาติจะพบ C presubscript 6 presuperscript 14 และ C presubscript 6 presuperscript 12 เป็นส่วนมาก

เราสามารถใช้ประโยชน์จากไอโซโทปของคาร์บอนในการหาอายุซากดึกดำบรรพ์ได้