
รูป แบบจำลองอะตอมของดอลตัน (มีลักษณะเป็นทรงกลมตัน)
ในสมัยกรีกโบราณ ดิโมคริตุส (Democritus) นักปราชญ์ชาวกรีก เสนอแนวคิด
ธาตุประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุด เรียกว่า อะตอม ซึ่งแบ่งแยกและทำให้สูญหายไม่ได้
อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน มีสมบัติเหมือนกัน แต่จะแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น
สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่าหนึ่งชนิดทำปฏิกิริยาเคมีกันในอัตราส่วนที่เป็นเลขลงตัวน้อย ๆ
ได้ทำการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของแก๊สในหลอดรังสีแคโทด พบว่ามีรังสีออกจากขั้วแคโทดไปยังขั้วแอโนด เรียกว่า รังสีแคโทด เมื่อรังสีแคโทดเคลื่อนที่ผ่านสนามไฟฟ้า จะเบนเข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า แสดงว่า
และสามารถคำนวณอัตราส่วนของประจุต่อมวล (e/m) ของรังสีแคโทดได้ พบว่าอัตราส่วนประจุต่อมวลของรังสีแคโทดมีค่าเท่ากับ 1.76×108 คูลอมบ์ต่อกรัม (C/g) ทุกครั้ง โดยเปลี่ยนชนิดของแก๊สและโลหะที่ใช้ทำขั้วแคโทด
จึงเสนอแบบจำลองอะตอมว่า
ได้ทดลอง ยิงอนุภาคแอลฟา ซึ่งได้จาการสลายตัวของอะตอมฮีเลียมไปยังแผ่นทองคำบาง ๆ และมีฉากเรืองแสงที่เคลือบด้วยซิงค์ซัลไฟด์ล้อมรอบโค้งเป็นวงกลม เพื่อตรวจจับอนุภาคแอลฟา พบว่า
อนุภาคส่วนใหญ่ทะลุผ่านแผ่นทองคำเป็นเส้นตรง มีจำนวนน้อยที่เบนไปจากแนวเส้นตรง และมีจำนวนน้อยมากที่สะท้อนกลับไปบริเวณด้านหน้าแผ่นทองคำ
จึงเสนอแบบจำลองอะตอมใหม่ว่า
จากการศึกษาสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน ทำให้ทราบว่า
อะตอมของไฮโดรเจนมีเพียง 1 อิเล็กตรอน แต่อะตอมของไฮโดรเจนมีระดับพลังงานหลายระดับ
แสดงว่า อิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนไปอยู่ในสถานะกระตุ้นที่ระดับพลังงานแตกต่างกันได้หลายระดับ (อิเล็กตรอนไม่ได้อยู่วงเดียว) และการปรากฏเป็นเส้นสเปกตรัมแสดงว่าอิเล็กตรอนในสถานะกระตุ้นกลับลงมาที่สถานะพื้น และคายพลังงานออกมามีค่าเฉพาะตัว
ทำให้ นีลล์ โบร์ (Niels Bohr) นักวิทยาศาสตร์ชาวเดนมาร์ก เสนอแบบจำลองอะตอมเพื่อใช้อธิบายพฤติกรรมของอิเล็กตรอนว่า
เนื่องจากแบบจำลองอะตอมของโบร์จะอธิบายอะตอมของธาตุไฮโดรเจนซึ่งมีเพียง 1 อิเล็กตรอนได้เท่านั้น แต่ไม่สามารถอธิบายสเปกตรัมของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอนได้
นักวิทยาศาสตร์ จึงใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ควอนตัมสร้างสมการคำนวณหาโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ พบว่า
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้ แต่บอกโอกาสที่พบอิเล็กตรอนบางบริเวณได้เท่านั้น
จึงเสนอว่า
เอกสารอ้างอิง