เมื่อพูดถึงการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี จะการทดลองพบว่า พฤติกรรมของการสลายตัวจะมีลักษณะดังต่อไปนี้
จากหลักการดังกล่าวเราจะเขียนสมการได้ว่า
เมื่อ
เครื่องหมายลบที่แสดงอยู่ทางขวามือของสมการแสดงถึงการลดลงของจำนวนอะตอม หรือ การสลายตัว
ดังนั้นปริมาณรังสีที่ออกมา ก็จะเท่ากับ เราเรียกปริมาณนี้ว่า กัมมันตภาพ (activity, A)
เมื่อเราแก้สมการข้างต้นเพื่อหาจำนวนของอะตอมที่เหลืออยู่ ณ เวลา ใดๆ จะได้
โดยที่ คือ จำนวนอะตอมตั้งต้น ในการวัดรังสีนั้น หน่วยในการวัด จะเป็น จำนวนนิวเคลียสที่สลายตัวต่อวินาที เรียกว่า เบ็กเคอเรล (Becqurrel: Bq) ซึ่งตัวเลขที่วัดได้มักจะเป็นเลขยกกำลังของ 10 มาด้วย
เช่น 3.0 x 1010 ทำให้อ่านไม่สะดวก
ในทางปฏิบัติจึงมักใช้หน่วยเป็น คูรี(Ci) ซึ่ง 1 คูรี เท่ากับ 3.7 x 1010 เบ็กเคอเรล
ในการวิเคราะห์เกี่ยวกับรังสียังมี ปริมาณหนึ่งที่มักถูกพูดถึงคือ
คือ เวลาที่ใช้ในการสลายตัวจนกระทั่งเหลือนิวเคลียสอยู่ครึ่งหนึ่งของจำนวนเดิมก่อนหน้านี้ สมมติว่าเรามีนิวเคลียสเริ่มต้น 100 ตัว และธาตุนี้มีค่าครึ่งชีวิต 1 ชั่วโมง จำนวนนิวเคลียสที่เหลืออยู่ ณ เวลา ใดๆ จะเป็นไปตามตาราง
จำนวนนิวเคลียส | เวลา (ชั่วโมง) |
100 | 0 |
50 | 1 |
25 | 2 |
จะเห็นว่าทุกๆ 1 ชั่วโมงจำนวนนิวเคลียสจะเหลืออยู่ครึ่งหนึ่งของปริมาณก่อนหน้า ค่าครึ่งชีวิตของธาตุต่างๆ จะมีความสัมพันธ์กับค่าคงที่การสลายตัว
ตามสมการ
หากเรามองค่าของ กัมมันตภาพ ในรูปของค่าครึ่งชีวิต จะได้ว่า
ในทำนองเดียวกันจำนวนนิวเคลียส ณ เวลา ใดๆ จะได้เป็น
กราฟแสดงการสลายตัว ณ เวลาต่างๆ