Q-value-และการบอกอายุ
ในการคำนวณเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์ ค่าพลังงานปฏิกิริยาหรือ Q-value เป็นปัจจัยหนึ่งในการบ่งบอกถึงการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ว่าเกิดได้ง่ายหรือยาก
โดยสามารถแบ่งเป็น 2 แบบ คือ
- ปฏิกิริยาดูดพลังงาน(endothermic reaction) และ
- ปฏิกิริยาคลายพลังงาน(exothermic reaction)
เมื่อพิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์โดยทั่วไป
ค่าของ Q-value สามารถคำนวณได้จากความแตกต่างของมวลก่อนเกิดปฏิกิริยาและมวลหลังเกิดปฏิกิริยาดังสมการ
- ในกรณีที่
เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน โดยปฏิกิริยาประเภทนี้จะมีการปล่อยพลังงานออกมา และ - กรณีที่
เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน โดยปฏิกิริยาประเภทนี้ ต้องให้พลังงานกับระบบเพื่อทำให้เกิดปฏิกิริยา ซึ่งพลังงานที่เพิ่มเข้ามานี้อาจจะมาจากพลังงานจลน์ของอนุภาคที่วิง่เข้าชนนิวเคลียส
ตัวอย่างเช่น จากปฏิกิริยา
ถ้าโปรตอนที่เข้าชนมีพลังงาน 1 MeV
จะสามารถเกิดปฏิกิริยานี้ได้หรือไม่
ในการจะเกิดปฏิกิริยานั้นสามารถพิจารณาเป็น 2 แบบ คือ
- ถ้า Q > 0 ปฏิกิริยาสามารถเกิดได้ และ
- ถ้า Q < 0 พลังงานของโปรตอนที่เข้าชนต้องมีพลังงานมากเพียงพอ
คำนวณค่า Q-value ของปฏิกิริยา %3C%2Fmo%3E%3Cmsup%3E%3Cmi%3Ec%3C%2Fmi%3E%3Cmn%3E2%3C%2Fmn%3E%3C%2Fmsup%3E%3Cmo%3E%3D%3C%2Fmo%3E%3Cmo%3E-%3C%2Fmo%3E%3Cmn%3E3%3C%2Fmn%3E%3Cmo%3E.%3C%2Fmo%3E%3Cmn%3E0%3C%2Fmn%3E%3Cmi%3EM%3C%2Fmi%3E%3Cmi%3Ee%3C%2Fmi%3E%3Cmi%3EV%3C%2Fmi%3E%3C%2Fmstyle%3E%3C%2Fmath%3E--%3E%3Cdefs%3E%3Cstyle%20type%3D%22text%2Fcss%22%3E%40font-face%7Bfont-family%3A'math1e7d2d99ac8060f35ef99add251'%3Bsrc%3Aurl(data%3Afont%2Ftruetype%3Bcharset%3Dutf-8%3Bbase64%2CAAEAAAAMAIAAAwBAT1MvMi7iBBMAAADMAAAATmNtYXDEvmKUAAABHAAAAExjdnQgDVUNBwAAAWgAAAA6Z2x5ZoPi2VsAAAGkAAABu2hlYWQQC2qxAAADYAAAADZoaGVhCGsXSAAAA5gAAAAkaG10eE2rRkcAAAO8AAAAFGxvY2EAHTwYAAAD0AAAABhtYXhwBT0FPgAAA%2BgAAAAgbmFtZaBxlY4AAAQIAAABn3Bvc3QB9wD6AAAFqAAAACBwcmVwa1uragAABcgAAAAUAAADSwGQAAUAAAQABAAAAAAABAAEAAAAAAAAAQEAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAACAgICAAAAAg1UADev96AAAD6ACWAAAAAAACAAEAAQAAABQAAwABAAAAFAAEADgAAAAKAAgAAgACACsALgA9IhL%2F%2FwAAACsALgA9IhL%2F%2F%2F%2FW%2F9T%2Fxt3yAAEAAAAAAAAAAAAAAAABVAMsAIABAABWACoCWAIeAQ4BLAIsAFoBgAKAAKAA1ACAAAAAAAAAACsAVQCAAKsA1QEAASsABwAAAAIAVQAAAwADqwADAAcAADMRIRElIREhVQKr%2FasCAP4AA6v8VVUDAAABAIAAVQLVAqsACwBJARiyDAEBFBMQsQAD9rEBBPWwCjyxAwX1sAg8sQUE9bAGPLENA%2BYAsQAAExCxAQbksQEBExCwBTyxAwTlsQsF9bAHPLEJBOUxMBMhETMRIRUhESMRIYABAFUBAP8AVf8AAasBAP8AVv8AAQAAAQAgAAAAoACAAAMALxgBsAQQsAPUsAMQsALUsAMQsAA8sAIQsAE8ALAEELAD1LADELACPLAAELABPDAxNzMVIyCAgICAAAIAgADrAtUCFQADAAcAZRgBsAgQsAbUsAYQsAXUsAgQsAHUsAEQsADUsAYQsAc8sAUQsAQ8sAEQsAI8sAAQsAM8ALAIELAG1LAGELAH1LAHELAB1LABELAC1LAGELAFPLAHELAEPLABELAAPLACELADPDEwEyE1IR0BITWAAlX9qwJVAcBV1VVVAAEAgAFVAtUBqwADADAYAbAEELEAA%2FawAzyxAgf1sAE8sQUD5gCxAAATELEABuWxAAETELABPLEDBfWwAjwTIRUhgAJV%2FasBq1YAAAEAAAABAADVeM5BXw889QADBAD%2F%2F%2F%2F%2F1joTc%2F%2F%2F%2F%2F%2FWOhNzAAD%2FIASAA6sAAAAKAAIAAQAAAAAAAQAAA%2Bj%2FagAAF3AAAP%2B2BIAAAQAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAUDUgBVA1YAgADIACADVgCAA1YAgAAAAAAAAAAoAAAAoQAAAOcAAAFxAAABuwABAAAABQBeAAUAAAAAAAIAgAQAAAAAAAQAAN4AAAAAAAAAFQECAAAAAAAAAAEAEgAAAAAAAAAAAAIADgASAAAAAAAAAAMAMAAgAAAAAAAAAAQAEgBQAAAAAAAAAAUAFgBiAAAAAAAAAAYACQB4AAAAAAAAAAgAHACBAAEAAAAAAAEAEgAAAAEAAAAAAAIADgASAAEAAAAAAAMAMAAgAAEAAAAAAAQAEgBQAAEAAAAAAAUAFgBiAAEAAAAAAAYACQB4AAEAAAAAAAgAHACBAAMAAQQJAAEAEgAAAAMAAQQJAAIADgASAAMAAQQJAAMAMAAgAAMAAQQJAAQAEgBQAAMAAQQJAAUAFgBiAAMAAQQJAAYACQB4AAMAAQQJAAgAHACBAE0AYQB0AGgAIABGAG8AbgB0AFIAZQBnAHUAbABhAHIATQBhAHQAaABzACAARgBvAHIAIABNAG8AcgBlACAATQBhAHQAaAAgAEYAbwBuAHQATQBhAHQAaAAgAEYAbwBuAHQAVgBlAHIAcwBpAG8AbgAgADEALgAwTWF0aF9Gb250AE0AYQB0AGgAcwAgAEYAbwByACAATQBvAHIAZQAAAwAAAAAAAAH0APoAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAALkHEQAAjYUYALIAAAAVFBOxAAE%2F)format('truetype')%3Bfont-weight%3Anormal%3Bfont-style%3Anormal%3B%7D%40font-face%7Bfont-family%3A'round_brackets18549f92a457f2409'%3Bsrc%3Aurl(data%3Afont%2Ftruetype%3Bcharset%3Dutf-8%3Bbase64%2CAAEAAAAMAIAAAwBAT1MvMjwHLFQAAADMAAAATmNtYXDf7xCrAAABHAAAADxjdnQgBAkDLgAAAVgAAAASZ2x5ZmAOz2cAAAFsAAABJGhlYWQOKih8AAACkAAAADZoaGVhCvgVwgAAAsgAAAAkaG10eCA6AAIAAALsAAAADGxvY2EAAARLAAAC%2BAAAABBtYXhwBIgEWQAAAwgAAAAgbmFtZXHR30MAAAMoAAACOXBvc3QDogHPAAAFZAAAACBwcmVwupWEAAAABYQAAAAHAAAGcgGQAAUAAAgACAAAAAAACAAIAAAAAAAAAQIAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAACAgICAAAAAo8AMGe%2F57AAAHPgGyAAAAAAACAAEAAQAAABQAAwABAAAAFAAEACgAAAAGAAQAAQACACgAKf%2F%2FAAAAKAAp%2F%2F%2F%2F2f%2FZAAEAAAAAAAAAAAFUAFYBAAAsAKgDgAAyAAcAAAACAAAAKgDVA1UAAwAHAAA1MxEjEyMRM9XVq4CAKgMr%2FQAC1QABAAD%2B0AIgBtAACQBNGAGwChCwA9SwAxCwAtSwChCwBdSwBRCwANSwAxCwBzywAhCwCDwAsAoQsAPUsAMQsAfUsAoQsAXUsAoQsADUsAMQsAI8sAcQsAg8MTAREAEzABEQASMAAZCQ%2FnABkJD%2BcALQ%2FZD%2BcAGQAnACcAGQ%2FnAAAQAA%2FtACIAbQAAkATRgBsAoQsAPUsAMQsALUsAoQsAXUsAUQsADUsAMQsAc8sAIQsAg8ALAKELAD1LADELAH1LAKELAF1LAKELAA1LADELACPLAHELAIPDEwARABIwAREAEzAAIg%2FnCQAZD%2BcJABkALQ%2FZD%2BcAGQAnACcAGQ%2FnAAAQAAAAEAAPW2NYFfDzz1AAMIAP%2F%2F%2F%2F%2FVre7u%2F%2F%2F%2F%2F9Wt7u4AAP7QA7cG0AAAAAoAAgABAAAAAAABAAAHPv5OAAAXcAAA%2F%2F4DtwABAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAwDVAAACIAAAAiAAAAAAAAAAAAAkAAAAowAAASQAAQAAAAMACgACAAAAAAACAIAEAAAAAAAEAABNAAAAAAAAABUBAgAAAAAAAAABAD4AAAAAAAAAAAACAA4APgAAAAAAAAADAFwATAAAAAAAAAAEAD4AqAAAAAAAAAAFABYA5gAAAAAAAAAGAB8A%2FAAAAAAAAAAIABwBGwABAAAAAAABAD4AAAABAAAAAAACAA4APgABAAAAAAADAFwATAABAAAAAAAEAD4AqAABAAAAAAAFABYA5gABAAAAAAAGAB8A%2FAABAAAAAAAIABwBGwADAAEECQABAD4AAAADAAEECQACAA4APgADAAEECQADAFwATAADAAEECQAEAD4AqAADAAEECQAFABYA5gADAAEECQAGAB8A%2FAADAAEECQAIABwBGwBSAG8AdQBuAGQAIABiAHIAYQBjAGsAZQB0AHMAIAB3AGkAdABoACAAYQBzAGMAZQBuAHQAIAAxADgANQA0AFIAZQBnAHUAbABhAHIATQBhAHQAaABzACAARgBvAHIAIABNAG8AcgBlACAAUgBvAHUAbgBkACAAYgByAGEAYwBrAGUAdABzACAAdwBpAHQAaAAgAGEAcwBjAGUAbgB0ACAAMQA4ADUANABSAG8AdQBuAGQAIABiAHIAYQBjAGsAZQB0AHMAIAB3AGkAdABoACAAYQBzAGMAZQBuAHQAIAAxADgANQA0AFYAZQByAHMAaQBvAG4AIAAyAC4AMFJvdW5kX2JyYWNrZXRzX3dpdGhfYXNjZW50XzE4NTQATQBhAHQAaABzACAARgBvAHIAIABNAG8AcgBlAAAAAAMAAAAAAAADnwHPAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAAC5B%2F8AAY2FAA%3D%3D)format('truetype')%3Bfont-weight%3Anormal%3Bfont-style%3Anormal%3B%7D%3C%2Fstyle%3E%3C%2Fdefs%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%225.5%22%20y%3D%2215%22%3EQ%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22math1e7d2d99ac8060f35ef99add251%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%2220.5%22%20y%3D%2215%22%3E%3D%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22round_brackets18549f92a457f2409%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%2231.5%22%20y%3D%2215%22%3E(%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%2239.5%22%20y%3D%2215%22%3EM%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2210%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%2249.5%22%20y%3D%2219%22%3EC%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%2262.5%22%20y%3D%2215%22%3E13%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22math1e7d2d99ac8060f35ef99add251%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%2277.5%22%20y%3D%2215%22%3E%2B%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%2290.5%22%20y%3D%2215%22%3EM%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2210%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22100.5%22%20y%3D%2219%22%3Ep%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22math1e7d2d99ac8060f35ef99add251%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22111.5%22%20y%3D%2215%22%3E%26%23x2212%3B%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22124.5%22%20y%3D%2215%22%3EM%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2210%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22134.5%22%20y%3D%2219%22%3En%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22math1e7d2d99ac8060f35ef99add251%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22145.5%22%20y%3D%2215%22%3E%26%23x2212%3B%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22158.5%22%20y%3D%2215%22%3EM%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2210%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22168.5%22%20y%3D%2219%22%3EN%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22181.5%22%20y%3D%2215%22%3E13%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22round_brackets18549f92a457f2409%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22191.5%22%20y%3D%2215%22%3E)%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22197.5%22%20y%3D%2215%22%3Ec%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2210%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22205.5%22%20y%3D%229%22%3E2%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22math1e7d2d99ac8060f35ef99add251%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22216.5%22%20y%3D%2215%22%3E%3D%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22math1e7d2d99ac8060f35ef99add251%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22231.5%22%20y%3D%2215%22%3E%26%23x2212%3B%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22242.5%22%20y%3D%2215%22%3E3%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22math1e7d2d99ac8060f35ef99add251%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22248.5%22%20y%3D%2215%22%3E.%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22255.5%22%20y%3D%2215%22%3E0%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22265.5%22%20y%3D%2215%22%3EM%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22275.5%22%20y%3D%2215%22%3Ee%3C%2Ftext%3E%3Ctext%20font-family%3D%22Arial%22%20font-size%3D%2214%22%20font-style%3D%22italic%22%20text-anchor%3D%22middle%22%20x%3D%22283.5%22%20y%3D%2215%22%3EV%3C%2Ftext%3E%3C%2Fsvg%3E)
นั่นหมายความว่า ปฏิกิริยานี้จะเกิดได้ พลังงานของโปรตอนที่เข้าชนต้องมีค่า 3.2 MeV เป็นอย่างน้อย
กรณีที่ พลังงานของโปรตอนมีค่า 1 MeV นั้นไม่เพียงพอที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาได้
ในกรณีที่ค่า Q < 0 พลังงานที่ต้องการเพิ่มทำให้เกิดปฏิกิริยา
ได้
สามารถคำนวณได้จาก
สารกัมมันตภาพรังสี (Radioactive matter)
ชนิดและสมบัติของรังสีบางชนิด
คาร์บอน-14
นักวิทยาศาสตร์ใช้ประโยชน์จากการกัมมตภาพรังสี และสมบัติของนิวเคลียสในหลากหลายรูปแบบด้วยกัน เช่น ในบรรยากาศของโลกมีการเกิด คาร์บอน-14 อยู่ตลอดเวลา จากปฏิกิริยาระหว่างไนโตรเจนกับนิวตรอน ดังสมการ
หรือเขียนเป็นสมการรูปแบบย่อได้เป็น
และคาร์บอน-14 นี้จะไปจับตัวกับออกซิเจนและเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ เหมือนกับ คาร์บอน-12 ดังนั้น คาร์บอยน-14 และคาร์บอน-12 จึงมีการหมุนเวียนอยู่ในพืชและสัตว์อยู่ตลอดเวลาผ่านการกินและการขับถ่าย โดยสัดส่วนของ คาร์บอน-14 ต่อ คาร์บอน-12 จะมีค่าคงที่อยู่ที่ 7.8 x 10-4
เมื่อพืชหรือสัตว์ตายลง การหมุนเวียนคาร์บอน-14 จึงหยุดลง และคาร์บอน-14 เองก็มีการสลายตัว ดังนั้นปริมาณที่เหลืออยู่ของคาร์บอน-14 สามารถบ่งถึงเวลาว่า ซากสัตว์หรือวัตถุต่างๆ มีอายุเท่าใด

Cesium-137 (ซีเซียม-137, CS-37)
ไอโซโทปของซีเซียมซึ่งเป็นสารกัมมันตภาพรังสีที่มีเลขอะตอมเท่ากับ55 มีครึ่งชีวิต (half-life) 30 ปีสลายโดยปล่อยรังสีบีตาและรังสีแกมมา เป็นหนึ่งในผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียส พบในฝุ่นกัมมันตรังสีที่ตกค้างจากการทดลองลูกระเบิดอะตอม และจากอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ ใช้เป็นตัวชี้บอกปริมาณนิวไคลด์กัมมันตรังสี (activity of a radionuclide) ในอาหารที่ผ่านการฉายรังสี (food irradiation) หรือการปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสีที่เกิดการปนเปื้อนในอาหารจากสิ่งแวดล้อมโดยไม่เจตนาการปนเปื้อนของซีเซียม-137 ในอาหาร
การปนเปื้อน ของซีเซี่ยม-137 ในสิ่งแวดล้อมจากอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์มีโอกาสได้โดยตกค้างใน สิ่งแวดล้อมแหล่งน้ำ พืช สัตว์ จะแพร่เข้าสู่ร่างกายของมนุษย์และสัตว์ได้ทางห่วงโซ่อาหาร ด้วยการบริโภคอาหารที่มีการปนเปื้อน
- การวัดค่า และ ปริมาณซีเซียม-137 มาตรฐานในอาหาร
การวัดปริมาณจากการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีมีหน่วยในระบบ SI เป็นเบคเคอเรล (Becquerel, Bq)หมายถึงจํานวนนิวเคลียสของสารกัมมันตรงสั ีที่แตกตัวในหนึ่งวินาที (decays per second) องค์การอาหารและยา กําหนดให้ตรวจปริมาณการปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสีในอาหาร 3 ชนิดคือ ไอโอดีน 131 (Iodine-131) ซีเซียม 137 (Cesium-137) และซีเซยมี 134 (Cesium-134) หน่วยวัดปริมาสารกัมมันตรังสีใน เครื่องดื่มหรือของเหลวจะใช้หน่วย "เบคเคอเรลต่อลิตร" ส่วนอาหารหรือของแข็งจะมีหน่วยเป็น "เบคเคอเรลต่อกิโลกรัม"อันตรายจากซีเซียม -137
ซีเซียม-137 เป็นอันตรายทางอาหาร (food hazard) ประเภทอันตรายทางเคมี (chemical hazard) เมื่อได้รับเข้าไปในร่างกาย จะกระจายไปทั่วร่างกาย ส่วนใหญ่จะสะสมอยู่ในเนื้อเยอื่ และส่วยน้อยอยู่ในตับและไขกระดูกแต่จะถูกขับออกโดยกระบวนการทางชีวภาพ ทางเหงื่อและ ปัสสาวะ ซีเซียม 137 เป็นสารก่อมะเร็ง โอกาสที่จะเป็นมะเร็งคือต้องกินสารปนเปื้อนนั้น เป็นระยะเวลานานๆ ต่อเนื่องกัน มากกว่า พิษของของ Cesium-137 ให้ผลรุนแรงน้อยกว่า ไอโอดีน-131 (Iodine-131)Iodine-131 (I-131)
I-131 เป็นไอโซโทปรังสีรุ่นแรก ๆ ของโลก nuclear medicine เลยก็ว่าได้I-131 เป็นที่รู้จักและถูกนํามาใช้ด้านการแพทย์ I-131 ที่ได้จะต้องผ่านการทดสอบคุณภาพทั้งทางด้าน chemical purity, radiochemical purity, radionucledic purity และด้านอื่นอีกผลของรังสีต่อสิ่งมีชีวิต
รังสีที่แผ่ออกจากธาตุกัมมันตรังสีคือ กัมมันตภาพรังสี (radioactivity) เมื่อผ่านเข้าไปในสิ่งมีชีวิตทั้งหลายจะทําให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนของอะตอมตามแนวทางที่รังสีผ่านไปทําให้เกิดผลเสียต่อสิ่งมีชีวิต 2 แบบ คือ
- ผลของรังสีที่มีต่อร่างกาย คือ เกิดเป็นผื่นแดงขึ้นตามผิวหนัง ผมร่วง เซลล์ตาย เป็นแผลเปื่อย เกิดเนื้อเส้นใยจํานวนมากที่ปอด (fibrosis of the lung) เกิดโรคเม็ดโลหิตขาวมาก (leukemia) เกิดต้อกระจก(cataracts) ขึ้นในนัยน์ตา เป็นต้น ซึ่งร่างกายจะเป็นมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของรังสีที่ได้รับ ส่วนของร่างกายที่ได้และอายุของผู้ได้รับรังสี
- ผลของรังสีที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์คือ ทําให้โครโมโซม (chromosome) เกิดการเปลี่ยนแปลงมีผลทําให้ลูกหลานเกิดเปลี่ยนลักษณะได้
โดยหลักการการปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสีในน้ําทะเล จะส่งผลให้เกิดการกลายพันธุ์ในสัตว์ทะเลได้โดยเฉพาะที่กลุ่มสารกัมมันตรังสีที่ให้เบต้า จะมีผลต่อการกลายพันธุ์ ทั้งนี้ต้องขึ้นกับปริมาณการรับและการสะสม เช่น หากสารกัมมันรังสีลงไปในน้ํา และแพลงก์ตอนรับสารรังสีเข้าไป เมื่อหอย ปลา กินแพลงก์ตอนเป็นล้านตัว จะเพิ่มความเข้มข้นไปเรื่อยๆสะสมในห่วงโซ่อาหาร อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ยังไม่มีผลการยืนยันที่ชัดเจนว่าจะถึงขั้นเปลี่ยนระบบนิเวศน์ใต้ทะเลหรือไม่แต่มีความเสี่ยงต่อการทําให้สิ่งมีชีวิตกลายพันธุ์มากกว่า
อาการที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากได้รับกัมมันตรังสีโดยไม่มีการควบคุม
- คลื่นไส้อาเจียน
- อ่อนเพลีย
- เม็ดเลือดขาวถูกทําลายอย่างรุนแรง
- ระบบการสร้างโลหิตจากที่ไขกระดูกบกพร่อง
- ร่างกายความต้านทานโรคต่ำ
- เกิดความผิดปกติบริเวณที่ถูกรังสีเช่น ผิวหนังไหม้พุพอง ผมร่วง ปากเปื่อย เป็นต้น
การป้องกันอนตรายจากสารกัมมันตรังสี
รังสีทุกชนิดมีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตทั้งนั้น จึงต้องทําการป้องกันไม่ให้ร่างกายได้รับรังสีหรือได้รับแต่เพียงปริมาณน้อยที่สุด ในกรณีที่ไม่สามารถหลกเหลี่ยงได้เนื่องจากต้องทํางานเกี่ยวข้องกับรังสีแล้ว ควรมีหลักยึดถือเพื่อปฏิบัติดังนี้
- เวลาของการเผย (time of exposure) โดยใช้เวลาในการทํางานในบริเวณที่มีรังสีใหส้ั้นที่สุด
- ระยะทาง (Distance) การทํางานเกี่ยวกับรังสีควรอยู่ห่างจากแหล่งกําเนิดรังสีมาก ๆ ทั้งนี้เพราะความเข้มของรังสีจะแปรผกผันกับกำลังสองของระยะทาง
- เครื่องกำบัง (Shielding) เครื่องกําบังที่วางกั้นระหว่างคนกับแหล่งกําเนิดรังสีจะดูดกลืนบางส่วนของรังสีหรืออาจจะทั้งหมดเลยก็ได้ดังนั้นในกรณีที่ต้องทำงานใกล้กับสารกัมมันตรังสีและต้องใช้เวลานานในการปฏิบัติงาน เราจําเป็นต้องใช้เครื่องกําบังช่วยเครื่องกําบังที่ดีควรเป็นพวกโลหะหนัก
ประโยชน์จากการใช้ธาตุกัมมันตรังสี
- ด้านธรณีวิทยา การใช้คาร์บอน-14 (C-14) คํานวณหาอายุของวัตถุโบราณ
- ด้านการแพทย์ใช้ไอโอดีน-131 (I-131) ในการติดตามเพื่อศึกษาความผิดปกติของต่อมไธรอยด์ โคบอลต์-60 (Co-60) และเรเดียม-226 (Ra-226) ใช้รักษาโรคมะเร็ง
- ด้านเกษตรกรรม ใช้ฟอสฟอรัส 32 (P-32) ศึกษาความต้องการปุ๋ยของพืช ปรับปรุงเมล็ดพันธุ์ที่ต้องการ และใช้โพแทสเซียม-32 (K–32) ในการหาอัตราการดูดซึมของต้นไม้
- ด้านอุตสาหกรรม ใช้ธาตุกัมมันตรังสีตรวจหารอยตําหนิเช่น รอยร้าวของโลหะหรือท่อขนส่งของเหลว ใช้ธาตุกัมมันตรังสีในการ ตรวจสอบและควบคุมความหนาของวัตถุใช้รังสีฉายบนอัญมณีเพื่อให้มีสีสันสวยงาม
- ด้านการถนอมอาหาร ใช้รังสีแกมมาของธาตุโคบอลต์-60 (Co–60) ปริมาณที่พอเหมาะใช้ทําลายแบคทีเรียในอาหาร จึงช่วยให้เก็บรักษาอาหารไว้ได้นานขึ้น
6. ด้านพลังงาน มีการใช้พลังงานความร้อนที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ในเตาปฏิกรณ์ปรมาณูของยูรีเนียม-238 (U-238) ต้มน้ําให้กลายเป็นไอ แล้วผ่านไอน้ําไปหมุนกังหัน เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า