พันธะเคมี
การเกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สารประกอบไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิของสารประกอบไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเกิดพันธะโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเขียนสูตร และเรียกชื่อสารโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ และสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและสมบัติของสารโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การสืบค้นข้อมูล และอธิบายสมบัติของสารโคเวเลนต์โครงร่างตาข่าย
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเกิดพันธะโลหะและสมบัติของโลหะ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมบัติและการใช้ประโยชน์ของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

การเกิดพันธะโคเวเลนต์

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

การเกิดพันธะโคเวเลนต์

MEDIUM

การเกิดพันธะโคเวเลนต์

HARD

การเกิดพันธะโคเวเลนต์

เนื้อหา

พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) เป็นพันธะที่เกิดจากอะตอมยึดเหนี่ยวกันโดยใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันเป็น

โดยสารที่อะตอมยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ เรียกว่า สารโคเวเลนต์ (Covalent compound) เช่น

  • แก๊สออกซิเจน (O2)
  • แก๊สไนโตรเจน (N2)
  • แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2
  • ฯลฯ
พันธะโคเวเลนต์ เกิดจาก อะตอมของอโลหะทำปฏิกิริยากับอะตอมของอโลหะโดยการนำเวเลนซ์อิเล็กตรอนหรืออิเล็กตรอนวงนอกสุดมาใช้ร่วมกันเป็นคู่ๆ 

เนื่องจาก ธาตุอโลหะมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง ดังนั้น เมื่อรวมตัวกันจะไม่มีอะตอมใดยอมเสียอิเล็กตรอน อะตอมจึงยึดเหนี่ยวกันโดยใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน เพื่อให้อยู่ในรูปโมเลกุลที่เสถียรและเป็นตามกฎออกเตต

เช่น

น้ำ (H2O) เกิดจากเวเลนซ์อิเล็กตรอนของไฮโดรเจน 2 อะตอม ยึดเหนี่ยวกับเวเลนซ์อิเล็กตรอนของออกซิเจน 1 อะตอม 


การเกิดพันธะโคเวเลนต์ของน้ำ

การเกิดพันธะโคเวเลนต์

การเกิดพันธะโคเวเลนต์ อะตอมแต่ละคู่จะใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเพื่อให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนครบแปด หรือเท่ากับเวเลนซ์อิเล็กตรอนของแก๊สเฉื่อย

อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันอาจมีหนึ่งคู่ สองคู่ และสามคู่  เกิดเป็นพันธะ เรียกว่าพันธะเดี่ยว (Single bond) พันธะคู่ (Double bond) และพันธะสาม (Triple bond) ตามลำดับ โดย

  • อิเล็กตรอนคู่ที่อะตอมทั้งสองใช้ร่วมกัน เรียกว่า “อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ (Bond pair electrons)
  • อะตอมที่ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน เรียกว่า “อะตอมคู่ร่วมพันธะ
  • อิเล็กตรอนที่ไม่ได้เกิดพันธะ เรียกว่า “อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (Lone pair electrons)

1. พันธะเดี่ยว (Single covalent bond)

เป็นพันธะโคเวเลนต์ที่เกิดจาก อะตอมคู่สร้างพันธะทั้งสองใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่ (ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 อิเล็กตรอน) ใช้เส้น (-) แทนพันธะเดี่ยว เช่น

  • พันธะระหว่างคลอรีนใน Cl2
  • ไฮโดรเจนกับออกซิเจนใน H2O
  • คาร์บอนกับไฮโดรเจนใน CH4 เป็นต้น


การเกิดพันธะเดี่ยว (
Single covalent bond)

2. พันธะคู่ (Double covalent bond)

เป็นพันธะโคเวเลนต์ที่เกิดจาก อะตอมคู่สร้างพันธะทั้งสองใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่ (ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 4 อิเล็กตรอน) ใช้เส้น 2 เส้น (=) แทน 1 พันธะคู่ เช่น

  • พันธะระหว่างออกซิเจนใน O2 
  • ออกซิเจนกับคาร์บอนใน CO2
  • คาร์บอนกับไฮโดรเจนใน C2H2


การเกิดพันธะคู่ (Double covalent bond)

3. พันธะสาม (Triple covalent bond)

เป็นพันธะโคเวเลนต์ที่เกิดจาก อะตอมคู่สร้างพันธะทั้งสองใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 3 คู่ (ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 6 อิเล็กตรอน) ใช้เส้น 3 เส้น แทน 1 พันธะสาม เช่น

  • พันธะระหว่างไนโตรเจนใน N2
  • ไนโตรเจนกับคาร์บอนใน HCN

การเกิดพันธะสาม (Triple covalent bond)