พันธะเคมี
การเกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สารประกอบไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิของสารประกอบไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเกิดพันธะโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเขียนสูตร และเรียกชื่อสารโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ และสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและสมบัติของสารโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การสืบค้นข้อมูล และอธิบายสมบัติของสารโคเวเลนต์โครงร่างตาข่าย
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเกิดพันธะโลหะและสมบัติของโลหะ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมบัติและการใช้ประโยชน์ของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

สารประกอบไอออนิก

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

สารประกอบไอออนิก

MEDIUM

สารประกอบไอออนิก

HARD

สารประกอบไอออนิก

เนื้อหา

สารประกอบไอออนิก

สารประกอบไอออนิก (Ionic compound) เป็นสารประกอบเคมีที่เกิดจากโลหะ (ที่มีประจุบวก) กับอโลหะ (ที่มีประจุลบ) มารวมกันเป็นสารประกอบ (หรือเรียกว่าเป็นเกลือ) โดยยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะไอออนิก ส่วนใหญ่เป็นผลึกที่แข็ง มีความเปราะ แตกหักง่าย

เนื่องจากการเลื่อนตำแหน่งเพียงเล็กน้อยของไอออน เมื่อมีแรงกระทำ อาจทำให้ไอออนชนิดเดียวกันเลื่อนไถลไปอยู่ตำแหน่งตรงกัน จึงเกิดแรงผลักกัน

เช่น

Na ซึ่งมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 ได้ให้อิเล็กตรอนแก่ Cl ที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 และ จึงทำให้ Cl มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 เกิดเป็นสารประกอบไอออนิก NaCl ที่มีประจุสุทธิเป็นศูนย์

ดังรูป


สมบัติของสารประกอบไอออนิก

ตารางที่ 1 สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก

สารประกอบ

สถานะ

จุดหลอมเหลว

(°C)

จุดเดือด

(°C)

สภาพละลายได้ในน้ำ ณ อุณหภูมิ 20 °C (g/น้ำ 100 g)

สมบัติความเป็น กรด-เบส เมื่อเป็นสารละลายในน้ำ

CaO

ของแข็ง

2572

2850

-

เบส

NaCl

ของแข็ง

801

1465

35.9

กลาง

CaCl2

ของแข็ง

772

1600

74.5

กลาง

Al2O3

ของแข็ง

2054

2980

ไม่ละลายน้ำ

-


การละลายน้ำของสารประกอบไอออนิก

สารประกอบไอออนิกบางชนิดละลายน้ำได้ดีและบางชนิดไม่ละลายน้ำ การที่สารประกอบไอออนิกละลายน้ำได้ เนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับไอออนมีค่ามากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ

เช่น

เมื่อนำโซเดียมคลอไรด์มาละลายในน้ำ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับโซเดียมไอออนและน้ำกับคลอไรด์ไอออนมีค่าสูงกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนทั้งสอง โซเดียมคลอไรด์จึงละลายน้ำได้ เมื่อไอออนเหล่านี้หลุดออกจากโครงสร้างเดิม แต่ละไอออนจะถูกล้อมรอบด้วยโมเลกุลของน้ำหลายๆโมเลกุล โดยน้ำจะหันขั้วที่มีประจุตรงกันข้ามเข้าไอออนที่ล้อมรอบ

ดังแสดงในรูป

การละลายน้ำของสารประกอบไอออนิก

จะมีขั้นย่อยๆของการเปลี่ยนแปลง 2 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 ผลึกของสารประกอบไอออนิก สลายตัวออกเป็นไอออนบวกและลบในภาวะก๊าซ ขั้นนี้ต้องดูดพลังงานเพื่อสลายผลึก พลังงานนี้เรียกว่า พลังงานแลตทิช (Latice energy), E1
ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในภาวะก๊าซรวมตัวกับน้ำ ขั้นนี้มีการคายพลังงาน พลังงานที่คายออกมาเรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy), E2

การพิจารณาว่าการละลายนั้นเป็นกระบวนการดูดหรือคายพลังงานจะพิจารณา

ดังนี้

  1. ถ้าค่า E1 < E2 การละลายนั้นเป็นกระบวนการคายพลังงาน ซึ่งทำให้อุณหภูมิของสารละลายสูงขึ้น
  2. ถ้าค่า E1 > E2 การละลายนั้นเป็นกระบวนการดูดพลังงาน ซึ่งทำให้อุณหภูมิของสารละลายลดลง

ในกรณีที่ค่าพลังงานแลตทิชมากกว่าพลังงานไฮเดรชันมาก ๆ สารอาจละลายได้น้อยมากหรือไม่ละลาย