พันธะเคมี
การเกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สารประกอบไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิของสารประกอบไอออนิก
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเกิดพันธะโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเขียนสูตร และเรียกชื่อสารโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ และสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและสมบัติของสารโคเวเลนต์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การสืบค้นข้อมูล และอธิบายสมบัติของสารโคเวเลนต์โครงร่างตาข่าย
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเกิดพันธะโลหะและสมบัติของโลหะ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมบัติและการใช้ประโยชน์ของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

คำนวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

คำนวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์

MEDIUM

คำนวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์

HARD

คำนวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์

เนื้อหา

สารประกอบไอออนิก เกิดจาก ปฏิกิริยาการรวมตัวกันของไอออนบวกและไอออนลบที่สร้างพันธะไอออนิกต่อกัน

ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นมีการเปลี่ยนแปลง พลังงานการเกิด (Heat of formation) การสร้างพันธะเป็นกระบวนการคายความร้อน (Exothermic reaction) การสลายพันธะเป็นกระบวนการดูดความร้อน (Endothermic reaction) เช่น

ปฏิกิริยาการการเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ จากปฏิกิริยาระหว่างโลหะโซเดียมและแก๊สคลอรีน มีการคายพลังงาน 412 กิโลจูลต่อโมล

ดังสมการ เครื่องหมายลบแสดงถึงการคายพลังงานของปฏิกิริยา ถ้าเป็นเครื่องหมายบวกแสดงถึงการดูดพลังงานของปฏิกิริยา

ในทางปฏิบัติเราไม่สามารถวัดพลังงานโครงผลึก (Lattice energy) ที่เกี่ยวข้องกับการรวมตัวกันของไอออนบวกและไอออนลบเกิดเป็นสารประกอบไอออนิคได้

ดังนั้น จำเป็นต้องอาศัยการคำนวณจากปฏิกิริยาย่อย ๆ หลายปฏิกิริยาตาม วัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ (Born-Haber cycle) ดังแผนภาพต่อไปนี้

  1. พลังงานการระเหิด (Heat of sublimation) เป็นพลังงานที่อะตอมของโลหะโซเดียมใช้ในการเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส
  2. พลังงานพันธะ (Bond energy) เป็นพลังงานที่ใช้ในการสลายพันธะของ Cl-Cl กลายเป็นคลอรีนอะตอมในสถานะแก๊ส
  3. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) เป็นพลังงานที่อะตอมของโซเดียมในสถานะแก๊สเสียอิเล็กตรอนกลายเป็น Na+
  4. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron affinity) เป็นพลังงานที่สัมพันธ์กับพลังงานที่คายออกมาเมื่ออะตอมของคลอรีนในสถานะแก๊สได้รับอิเล็กตรอน
  5. พลังงานโครงผลึก หรือแลตทิซ (Lacttice energy) เป็นพลังงานที่ไอออนของคลอรีน และไอออนของโซเดียมในสถานะแก๊สคายออกมาเพื่อเกิดเป็นผลึกโซเดียมคลอไรด์

ดังนั้น เมื่อรวมสมการของปฏิกิริยาย่อยทั้ง 5 จะเหลือ Na(s) และ Cl2(g) เป็นสารตั้งต้น และเหลือ NaCl(s) เป็นผลิตภัณฑ์ดังนี้

ค่าพลังงานรวมสามารถคำนวณได้จาก

พลังงานการเกิด = พลังงานการระเหิด + พลังงานพันธะ + พลังงานไอออไนเซชัน + สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน + พลังงานแลตทิซ

เมื่อแทนค่าพลังงานจะได้ว่า

-411 = 107 + 496 + 121 + (-349) + พลังงานแลตทิซ

ดังนั้น พลังงานแลตทิซเท่ากับ -786 kJ/mol ค่าพลังงานเป็นลบแสดงว่าเป็นปฏิกิริยาการคายความร้อน