เนื่องจากการเลื่อนตำแหน่งเพียงเล็กน้อยของไอออน เมื่อมีแรงกระทำ อาจทำให้ไอออนชนิดเดียวกันเลื่อนไถลไปอยู่ตำแหน่งตรงกัน จึงเกิดแรงผลักกัน
เช่น
Na ซึ่งมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 ได้ให้อิเล็กตรอนแก่ Cl ที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 และ จึงทำให้ Cl มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 เกิดเป็นสารประกอบไอออนิก NaCl ที่มีประจุสุทธิเป็นศูนย์
ดังรูป
ตารางที่ 1 สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก
สารประกอบ | สถานะ | จุดหลอมเหลว (°C) | จุดเดือด (°C) | สภาพละลายได้ในน้ำ ณ อุณหภูมิ 20 °C (g/น้ำ 100 g) | สมบัติความเป็น กรด-เบส เมื่อเป็นสารละลายในน้ำ |
CaO | ของแข็ง | 2572 | 2850 | - | เบส |
NaCl | ของแข็ง | 801 | 1465 | 35.9 | กลาง |
CaCl2 | ของแข็ง | 772 | 1600 | 74.5 | กลาง |
Al2O3 | ของแข็ง | 2054 | 2980 | ไม่ละลายน้ำ | - |
เช่น
เมื่อนำโซเดียมคลอไรด์มาละลายในน้ำ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับโซเดียมไอออนและน้ำกับคลอไรด์ไอออนมีค่าสูงกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนทั้งสอง โซเดียมคลอไรด์จึงละลายน้ำได้ เมื่อไอออนเหล่านี้หลุดออกจากโครงสร้างเดิม แต่ละไอออนจะถูกล้อมรอบด้วยโมเลกุลของน้ำหลายๆโมเลกุล โดยน้ำจะหันขั้วที่มีประจุตรงกันข้ามเข้าไอออนที่ล้อมรอบ
ดังแสดงในรูป
จะมีขั้นย่อยๆของการเปลี่ยนแปลง 2 ขั้นตอน ดังนี้
ดังนี้
ในกรณีที่ค่าพลังงานแลตทิชมากกว่าพลังงานไฮเดรชันมาก ๆ สารอาจละลายได้น้อยมากหรือไม่ละลาย