ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (1)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (2)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิตกับการอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้า และปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (3)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (4)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า และเทคโนโลยี ที่นำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้า
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

ความต้านทาน & วงจรไฟฟ้า : Ohm / Kirchoff (4)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

ความต้านทาน & วงจรไฟฟ้า : Ohm / Kirchoff (4) (ชุดที่ 1) Pre test

MEDIUM

ความต้านทาน & วงจรไฟฟ้า : Ohm / Kirchoff (4) (ชุดที่ 2)

HARD

ความต้านทาน & วงจรไฟฟ้า : Ohm / Kirchoff (4) (ชุดที่ 3)

เนื้อหา

Kirchhoff’s laws

สำหรับวงจรที่ประกอบจากวงจรมากกว่าหนึ่งวงจร (มี Source of e.m.f. มากกว่า 1 จุด) หรือวงจรที่มีความซับซ้อนมากจะสามารถแก้ปัญหาได้ง่ายขึ้นเมื่อใช้
กฎของเคอร์ชอฟ” ซึ่งมีด้วยกัน 2 ข้อ ดังนี้

กฎข้อที่ 1 Kirchhoff’s current law (KCL) หรือกฎของจุด (Junction’s Rule)
ผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่จุดใด ๆ ในวงจรมีค่าเป็นศูนย์เสมอ เป็นไปตาม Conservation of charge

                 
                         เขียนได้เป็น
               
                      sum I subscript i n end subscript equals sum I subscript o u t end subscript

ให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าเป็น + ไหลออกเป็น - นั่นคือกระแสไฟฟ้าไหลเข้าจุดใดจะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจุดนั้น
  • ตัวอย่างที่ 1 พิจารณากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านจุด a

     
    จาก
              I subscript i n end subscript equals I subscript o u t end subscript
I subscript 1 plus I subscript 2 equals I subscript 3
I subscript 1 plus I subscript 2 minus I subscript 3 equals 0
2 plus 3 minus 5 equals 0 space space

    ผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่จุด a มีค่าเป็น 0 A
กฎข้อที่ 2 Kirchhoff’s voltage law (KVL) หรือกฎของลูป (Loop’s Rule)
ผลรวมของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ลูปใด ๆ ในวงจรมีค่าเป็นศูนย์เสมอ เป็นไปตาม Conservation of energy



                       เขียนได้เป็น

                space sum e m f equals sum I R

ให้ความต่างศักย์สูงไปต่ำเป็น + ต่ำไปสูงเป็น - นั่นคือผลรวมของความต่างศักย์คร่อมแต่ละอุปกรณ์ในลูปต้องมีค่าเป็น 0 เสมอ
  • ตัวอย่างที่ 2 พิจารณาผลรวมของความต่างศักย์ไฟฟ้ารอบวงปิด


    จาก


          space space space space space space space space sum e m f equals sum I R
space space space space space space space space space space space space space space space space space space space epsilon equals I R subscript 1 plus I R subscript 2
I R subscript 1 plus I R subscript 2 minus epsilon equals 0
space space space space space space 7 plus 5 minus 12 equals 0
    ผลรวมความต่างศักย์ไฟฟ้ารอบวงปิดมีค่าเป้น 0 V

การหากระแสไฟฟ้าในวงจรโดยKirchhoff’s law

  • Step 1 กำหนดจุดต่างๆกัน เช่น a, b, c, d
  • Step 2 กำหนดทิศกระแสสมมุติเช่น Iหรือ I subscript 1
    ถ้าเจอทางแยกต้องกำหนดเพิ่ม เช่น I subscript 2,I subscript 3(KCL)
  • Step 3 กำหนดเครื่องหมายศักย์ไฟฟ้าที่จุดต่าง ๆ
  • Step 4 วนลูปรวมความต่างศักย์ทั้งลูปเท่ากับ 0 (KVL)
    ให้ครบทุกลูป จะได้สมการตามจำนวนลูป
  • Step 5 แก้สมการ ถ้าได้เครื่องหมายติดลบแสดงว่า
    กระแสจริงมีทิศตรงข้ามกับกระแสสมมุต

ทิศกระแสสมมุติควรกำหนดจากทิศกระแสไฟฟ้าของ emf ที่มากสุด

Tricks การดูเครื่องหมาย “กระแสไฟฟ้าไหลจากศักย์สูงไปศักย์ต่ำ  เข้าทาง + จะได้ V เป็น + I เข้าทาง - จะได้ V เป็น -

การหาความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง
2 จุดใด ๆ ในวงจร

เช่น V subscript a b end subscript equals V subscript a minus V subscript b

  • Step1 หากระแสไฟฟ้าและทิศทางจาก
           KCL หรือ I equals fraction numerator sum e m f over denominator sum R end fraction
  • Step2 หาความต่างศักย์ระหว่าง a ไป b จาก

           V subscript a b end subscript equals sum e m f minus sum I R

โดยวนตามทิศกระแสไฟฟ้า (สมมุติว่ามีโวลต์มิเตอร์คร่อมอยู่จะเห็นภาพมากขึ้น)

Tricks: การคิด V subscript a b end subscript equals sum e m f minus sum I R
พิจารณาemf ถ้า I ออกจากขั้ว + emf เป็น +
                 ถ้า I ออกจากขั้ว - emf เป็น -
โดยให้ IR เป็นบวกเสมอ

สายดิน

จุดที่ต่อสายดินจะทำให้จุดนั้นมีศักย์ไฟฟ้าเป็น 0 โวลต์หรือ
        V subscript สายด ิ น equals 0 space V

ประโยชน์ของสายดิน
เมื่อเกิดไฟฟ้ารั่วกระแสไฟฟ้าจะไหลลงดินโดยไม่ผ่านตัวผู้สัมผัส

สัญลักษณ์สายดินในวงจร