ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (1)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (2)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิตกับการอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้า และปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (3)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (4)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า และเทคโนโลยี ที่นำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้า
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

ความต้านทาน & วงจรไฟฟ้า : Ohm / Kirchoff (2)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

ความต้านทาน & วงจรไฟฟ้า : Ohm / Kirchoff (2) (ชุดที่ 1) Pre test

MEDIUM

ความต้านทาน & วงจรไฟฟ้า : Ohm / Kirchoff (2) (ชุดที่ 2)

HARD

ความต้านทาน & วงจรไฟฟ้า : Ohm / Kirchoff (2) (ชุดที่ 3) Post test

เนื้อหา

การหาค่าความต้านทานรวมในวงจร

หากเรามีตัวต้านทานไฟฟ้ามากกว่า 1 ตัว นักเรียนสามารถทำการคำนวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้ารวม R subscript รวมได้โดยอาศัยหลักการ 3 ข้อดังนี้

  1. การต่อแบบอนุกรม คือ การนำตัวต้านทานมาต่อเรียงกันในลักษณะเรียงต่อกันโดยปลายของความต้านทานตัวหนึ่งจะต่อกับปลายอีกด้านหนึ่งของตัวต้านทานตัวถัดไปแบบนี้เรื่อย ๆ ดังที่แสดงในรูปที่ 1

    รูปที่ 1 ตัวต้านทานไฟฟ้า 3 ตัวต่อเรียงกันแบบอนุกรมและทั้งหมดต่อเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า V ในการต่อแบบนี้กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากันและเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจร
    หลักการที่ใช้ในการคำนวณ
    กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัวมีค่าเท่ากันและเท่ากับกระแสไฟฟ้ารวม

      I subscript รวม equals I subscript R subscript 1 end subscript equals I subscript R subscript 2 end subscript equals I subscript R subscript 3 end subscript

    ความต่างศักย์รวมจะมีค่าเท่ากับผลรวมของความต่างศักย์ที่ตกคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัว

      V subscript a d end subscript equals V subscript a b end subscript plus V subscript b c end subscript plus V subscript c d end subscript

    และความต้านทานรวมจะมีค่าเท่ากับผลรวมของความต้านทานแต่ละตัว

     R subscript รวม equals R subscript 1 plus R subscript 2 plus R subscript 3

    เมื่อ
    -I subscript R subscript 1 end subscript,I subscript R subscript 2 end subscript และ I subscript R subscript 3 end subscript คือกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R subscript 1,R subscript 2และ R subscript 3 ตามลำดับ
    -V subscript a b end subscript,V subscript b c end subscript และ V subscript c d end subscript คือค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานR subscript 1,R subscript 2 และ R subscript 3 ตามลำดับ
    -V subscript a d end subscript equals V=V คือความต่างศักย์ไฟฟ้าทั้งหมดที่ตกคร่อมระหว่างจุด a และจุด d
  2. การต่อแบบขนาน คือ การนำปลายทั้งสองข้างของตัวต้านทานแต่ละตัวมาต่อเชื่อมกันดังรูป จะทำให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวมีค่าเท่ากันและเท่ากับค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าทั้งหมด

    รูปที่ 2 ตัวต้านทานไฟฟ้า 3 ตัวต่อเรียงกันแบบขนานและทั้งหมดต่อเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า V ในการต่อแบบนี้ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากันและเท่ากับความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมทั้งหมด
    หลักการที่ใช้ในการคำนวณ

    ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวมีค่าเท่ากันและเท่ากับค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม 

      V subscript รวม equals V subscript R subscript 1 end subscript equals V subscript R subscript 2 end subscript equals V subscript R subscript 3 end subscript equals V subscript a b end subscript

    กระแสไฟฟ้ารวมจะมีค่าเท่ากับผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว

      I subscript รวม equals I subscript R subscript 1 end subscript plus I subscript R subscript 2 end subscript plus I subscript R subscript 3 end subscript

    และความต้านทานรวมสามารถคำนวณได้จากสูตร

      1 over R subscript รวม equals 1 over R subscript 1 plus 1 over R subscript 2 plus 1 over R subscript 3

    เมื่อ
    -I subscript R subscript 1 end subscript,I subscript R subscript 2 end subscript และ I subscript R subscript 3 end subscript คือกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน R subscript 1,R subscript 2 และ R subscript 3 ตามลำดับ 
    -V subscript รวม คือค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวต้านทาน R subscript 1,R subscript 2 และ R subscript 3 ซึ่งมีค่าเท่ากับV subscript a b end subscript (ความต่างศักย์ไฟฟ้าทั้งหมดที่ตกคร่อมระหว่างจุด a และจุด b
  3. การต่อแบบวีทสโตนบริดจ์ (Wheatstone Bridge) เป็นการต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ตัวต้านทาน 5 ตัวต่อดังที่แสดงในรูปที่ 3

    รูปที่ 3 การต่อวงจรแบบวีทสโตนบริดจ์ เมื่อวงจรอยู่ในสมดุลจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวต้านทานR subscript 5

    หลักการที่ใช้ในการคำนวณ

    เมื่อบริดจ์อยู่ในสมดุลจะไม่มีกระแสไหลผ่าน R subscript 5 ในการหาความต้านทานรวมให้ใช้หลักการการต่อความต้านทานแบบอนุกรมและขนาน
    เงื่อนไขของวงจรสมดุลคือ 

              R subscript 1 R subscript 3 equals R subscript 2 R subscript 4