ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (1)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (2)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิตกับการอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้า และปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (3)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (4)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า และเทคโนโลยี ที่นำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้า
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (4)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (4) (ชุดที่ 1)

MEDIUM

ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (4) (ชุดที่ 2)

HARD

ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (4) (ชุดที่ 3)

เนื้อหา

พลังงานศักย์ไฟฟ้า

พลังงานศักย์ไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นกรณีของจุดประจุหรือแผ่นประจุ เป็นไปตามหลักการอนุรักษ์พลังงานเชิงกล เช่นเดียวกันกับพลังงานงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานศักย์ยืดหยุ่น นั่นคือพลังงานรวมที่เป็นผลรวมของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์จะมีค่าคงที่ถ้าไม่มีงานจากแรงภายนอก ดังสมการ
            E subscript 1 equals E subscript 2
K subscript 1 plus U subscript 1 equals K subscript 2 plus U subscript 2 space            (1)

พิจารณากรณีตัวอย่างของการยิงอนุภาคมวล m ที่มีประจุ plus q จากระยะไกลมากด้วยอัตราเร็ว v เข้าหาประจุ plus Q ที่ถูกตรึงอยู่กับที่ (อาจจะเป็นนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งในก้อนวัสดุ)

ถ้าอนุภาคประจุ plus q พุ่งเข้าหาประจุ plus Q ในแนวตรง ประจุ plus q จะหยุดอยู่นิ่งที่ระยะ d ก่อนที่จะวกกลับ ซึ่งระยะดังกล่าวสามารถหาได้โดยใช้หลักการอนุรักษ์พลังงานนั่นคือ
 E subscript 1 equals E subscript 2
1 half m v subscript 1 superscript 2 plus fraction numerator K Q q over denominator r subscript 1 end fraction equals 1 half m v subscript 2 superscript 2 plus fraction numerator K Q q over denominator r subscript 2 end fraction        (2)
  • เลข 1 ในสมการใช้แทนสภาวะที่ยิงอนุภาคประจุ plus q ด้วยอัตราเร็ว v subscript 1 equals v จากระยะ r subscript 1ที่มีค่าเข้าใกล้อนันต์ ทำให้เทอมพลังงานศักย์เป็น 0
  • เลข 2 ในสมการแทนสภาวะที่ประจุ plus q หยุดนิ่งอยู่ที่ระยะ r subscript 2 equals d ทำให้เทอมพลังงานจลน์เป็น 0

สมการ (2) จึงสามารถเขียนได้เป็น

    1 half m v squared plus 0 equals 0 plus fraction numerator K Q q over denominator d end fraction                   (3)

และระยะ d สามารถเขียนในรูปของตัวแปร m,v,K,Q และ q ได้โดย

     d equals fraction numerator 2 K Q q over denominator m v squared end fraction                                   (4)