ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (1)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (2)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิตกับการอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้า และปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (3)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (4)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า และเทคโนโลยี ที่นำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้า
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

ตัวเก็บประจุ (1)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

ตัวเก็บประจุ (1) (ชุดที่ 1)

MEDIUM

ตัวเก็บประจุ (1) (ชุดที่ 2)

HARD

ตัวเก็บประจุ (1) (ชุดที่ 3)

เนื้อหา

ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า

ความจุไฟฟ้า

ความจุไฟฟ้า C มีนิยามเป็นปริมาณประจุไฟฟ้าบนวัตถุใด ๆ ซึ่งทำให้วัตถุนั้นมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ 1 โวลต์ ดังนั้น ถ้าบนวัตถุมีประจุไฟฟ้า Q และมีศักย์ไฟฟ้าที่ผิว V เราจะสามารถหาค่าความจุไฟฟ้าของวัตถุได้จากความสัมพันธ์

          C equals Q over V space space... left parenthesis 1 right parenthesis

โดยความจุไฟฟ้ามีหน่วยเป็นคูลอมบ์/โวลต์ หรือเรียกว่าฟารัด (F)

ความจุไฟฟ้าของตัวนำทรงกลม

ถ้าตัวนำทรงกลมรัศมี R เมตร มีประจุไฟฟ้าบนทรงกลม Q คูลอมบ์ และมีศักย์ไฟฟ้าที่ผิว V โวลต์ ซึ่ง

               V equals fraction numerator k Q over denominator R end fraction

โดยที่ k = 9×109 นิวตัน-เมตร2/คูลอมบ์2
เมื่อแทนในสมการที่ (1) จะทำให้ได้ค่าความจุไฟฟ้าของตัวนำทรงกลมเป็น

             C equals fraction numerator Q over denominator k Q divided by R end fraction

ดังนั้น      C equals R over k space space... space left parenthesis 2 right parenthesis

ตัวเก็บประจุแบบแผ่นตัวนำคู่ขนาน

ตัวเก็บประจุ คือ อุปกรณ์ที่สามารถเก็บสะสมประจุไฟฟ้าได้ โดยทั่วไปประกอบด้วยแผ่นตัวนำ 2 แผ่น และมีวัสดุไดอิเล็กทริคคั่นกลาง สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟ้าจึงเป็น    

ถ้าแผ่นตัวนำทั้งสองของตัวเก็บประจุมีพื้นที่ A ตารางเมตร วางห่างกันเป็นระยะ d เมตร จะทำให้ได้ค่าความจุไฟฟ้าเป็น

                     C equals fraction numerator A over denominator 4 pi k d end fraction space space... left parenthesis 3 right parenthesis

พลังงานศักย์ที่สะสมในตัวเก็บประจุ

เมื่อต่อตัวเก็บประจุที่มีความจุไฟฟ้า C เข้ากับแบตเตอรี่ที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ขั้ว V โวลต์ จะทำให้

  • แผ่นตัวนำแผ่นหนึ่งมีประจุไฟฟ้า plus Q คูลอมบ์
  • ส่วนอีกแผ่นหนึ่งจะมีประจุไฟฟ้า negative Q คูลอมบ์

พลังงานศักย์ U จะถูกเก็บในตัวเก็บประจุในรูปของสนามไฟฟ้า ซึ่งสามารถหาได้ดังนี้

    U equals 1 half Q V equals fraction numerator Q squared over denominator 2 C end fraction equals 1 half C V squared space space... left parenthesis 4 right parenthesis

   โดยพลังงานศักย์ไฟฟ้ามีหน่วยเป็นจูล (J)