ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (1)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (2)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิตกับการอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้า และปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (3)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (4)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า และเทคโนโลยี ที่นำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้า
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (3)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (3) (ชุดที่ 1) Pre test

MEDIUM

ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (3) (ชุดที่ 2) Post test

HARD

ไฟฟ้าสถิต: แรง สนาม ศักย์ พลังงานศักย์จากประจุ (3) (ชุดที่ 3) Post test

เนื้อหา

แผ่นประจุ

พิจารณาระบบที่ประกอบด้วยแผ่นประจุคู่ขนานซึ่ง

  • แผ่นหนึ่งมีประจุบวกกระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอ
  • ส่วนอีกแผ่นหนึ่งมีประจุลบกระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอเช่นกัน
ถ้านำแผ่นประจุทั้งสองมาวางขนานกันโดยให้ระยะห่างระหว่างแผ่นทั้งสองมีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับขนาดของแผ่นและทำให้สามารถคิดได้ว่าแผ่นประจุมีขนาดเป็นอนันต์ การที่คิดว่าแผ่นประจุมีขนาดเป็นอนันต์ทำให้ไม่ว่าจะพิจารณาบริเวณใดที่อยู่ระหว่างแผ่นประจุก็จะพบว่าสนามไฟฟ้ามีค่าคงที่ คือ E

เมื่อมีประจุ q วางอยู่ระหว่างแผ่นประจุบวก-ลบ แรงบนประจุ q เนื่องจากสนามไฟฟ้า E with rightwards arrow on top สามารถหาได้จาก

              F with rightwards arrow on top equals q E with rightwards arrow on top                (1)

เช่นเดียวกับกรณีของจุดประจุ คือ

  • ถ้าประจุ q เป็นประจุบวก แรงเนื่องจากสนามไฟฟ้า E with rightwards arrow on top ที่กระทำต่อประจุจะมีทิศทางเดียวกับสนามไฟฟ้า
  • แต่เมื่อประจุ q เป็นประจุลบ แรงเนื่องจากสนามไฟฟ้า E with rightwards arrow on top ที่กระทำต่อประจุจะมีทิศทางตรงข้ามกับสนามไฟฟ้า
ในกรณีที่ต้องการเคลื่อนประจุ q ใดๆ เป็นระยะ d ในทิศทางที่สวนกับแรงเนื่องจากสนามไฟฟ้า จะต้องทำงานภายนอกให้กับประจุเป็นผลคูณสเกลาร์ระหว่างแรงกับการกระจัด นั่นคือ

          W equals F d equals q E d               (2)
และเมื่อนิยามความต่างศักย์ระหว่างจุดสองจุดที่อยู่ห่างกันในแนวขนานกับสนามไฟฟ้าเป็นระยะ d เป็นงานในการเคลื่อนประจุต่อหนึ่งหน่วยประจุทดสอบ q ทำให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างสองจุดดังกล่าวสามารถหาได้จาก

          increment V equals W over q equals E d              (3)

โดยที่บริเวณใกล้แผ่นประจุบวกจะมีค่าของศักย์ไฟฟ้าที่สูงกว่าบริเวณใกล้แผ่นประจุลบ ทำให้เกิดผล เช่น การเคลื่อนประจุบวกจากบริเวณใกล้แผ่นประจุลบไปยังบริเวณใกล้แผ่นประจุบวกเป็นการเพิ่มพลังงานศักย์ให้กับประจุซึ่งจำเป็นจะต้องออกแรงเพื่อที่จะทำงานให้กับประจุดังกล่าว