นักเรียนอาจเคยได้ยินปริมาณที่เรียกว่าโมเมนต์ กับทอร์ก
ปริมาณทั้งสองนี้คือปริมาณที่คล้ายกันทั้งสมการ และหน่วย แต่การที่มีชื่อเรียกที่ต่างกันย่อมที่จะให้ความหมายทางฟิสิกส์ที่แตกต่างกันดังนี้
• โมเมนต์ของแรงที่มีทิศทางขนานกับแกนของชิ้นส่วน เรียกว่า “ทอร์ก” (คล้ายๆการออกแรงบิด)
• โมเมนต์ของแรงที่มีทิศทางตั้งฉากกับแกนของชิ้นส่วน เรียกว่า “โมเมนต์” (คล้ายการออกแรงดัด)
ซึ่งมี 2 แบบ คือ
คือ ความพยายามทำให้วัตถุบิดหรือหมุนไป ปริมาณนี้เป็นปริมาณเวกเตอร์และมีหน่วยเป็น N∙m
มีขนาดเท่ากับแรง (F) คูณระยะห่างจากจุดหมุนถึงแนวแรง (L) โดยต้องตั้งฉากกัน
โดยขนาด
ดังรูปที่ 1
Trick หากแรงผ่านจุดหมุนหรือจุดศูนย์กลางมวล (c.m.) โมเมนต์หรือทอร์กจะเป็น 0 วัตถุจะไม่หมุนแต่เลื่อนตำแหน่ง
หลักการคำนวณสมดุลของคาน
ให้เริ่มจาก
โมเมนต์ของแรงคู่ควบ
เกิดเมื่อแรงขนาดเท่ากัน 2 แรงกระทำกับวัตถุใน
แนวเดียวกันทิศตรงข้ามกันและห่างกันเป็นระยะ l
ดังนั้น แรงคู่ควบจะทำให้วัตถุอยู่ในสมดุลต่อการเลื่อนที่ในขณะที่หมุนเสมอ เมื่อพิจารณาโมเมนต์รอบจุดหมุน
จะได้
ดังนั้น ขนาดโมเมนต์ของแรงคู่ควบ
เท่ากับ
หลักการคำนวณสมดุลของวัตถุรัศมี R
ให้เริ่มจาก