แรง กฏการเคลื่อนที่ (2)

ยอดวิว 11.4k

แบบฝึกหัด

EASY

แรง กฏการเคลื่อนที่ (2) (ชุดที่ 1)

MEDIUM

แรง กฏการเคลื่อนที่ (2) (ชุดที่ 2)

HARD

แรง กฏการเคลื่อนที่ (2) (ชุดที่ 3)

เนื้อหา

กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

แผนภาพอิสระของวัตถุ
(Free-Body Diagram, F.B.D.)

ในระบบกลศาสตร์ที่ประกอบไปด้วยมวลหลายมวล
เราสามารถแยกแผนภาพของแต่ละวัตถุอย่างอิสระได้
โดยเมื่อรวมแรงแล้วจะเท่ากับแรงทั้งระบบ

ประโยชน์ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาทางกลศาสตร์
ตัวอย่างเช่น ระบบมวล A และ B บนพื้นที่ไม่มีความฝืดโดยมีแรง F มากระทำกับมวล A เราสามารถแยก F.B.D. ของมวลแต่ละก้อนได้ดังรูป

กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน (Newton’s laws of motion) ประกอบด้วย 3 กฎคือ

กฎข้อที่ 1 (First law of motion):
วัตถุจะคงสภาพการเคลื่อนที่เดิมไว้ (หยุดนิ่ง หรือ เคลื่อนด้วยความตัวคงที่) เมื่อไม่มีแรงภายนอกที่ไม่เป็นศูนย์มากระทำต่อวัตถุนั้น เขียนเป็นสมการได้เป็น

                        begin inline style sum for blank of F with rightwards harpoon with barb upwards on top equals 0 end style
กฎข้อที่ 2 (Second law of motion):
เมื่อมีแรงภายนอกที่ไม่เป็นศูนย์มากระทำต่อวัตถุ วัตถุนั้นจะเคลื่อนที่ไปด้วยความเร่งที่มีทิศตามทิศของแรงที่มากระทำ เขียนเป็นสมการได้เป็น

                     begin inline style sum for blank of F with rightwards harpoon with barb upwards on top equals m a with rightwards harpoon with barb upwards on top end style
กฎข้อที่ 3 (Third law of motion):
ทุกแรงกิริยาย่อมมีแรงปฏิกิริยาที่มีขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้ามกันโดย

                F subscript a c t i o n end subscript equals negative F subscript blank subscript blank r e a c t i o n end subscript

แรงชนิดต่าง ๆ ในฟิสิกส์
แรงที่เรามักจะเจอในวิชาฟิสิกส์จะประกอบด้วย

  • แรงกล (mechanic force) เช่น แรงผลัก (F with rightwards harpoon with barb upwards on top) แรงตึงเชือก (T with rightwards harpoon with barb upwards on top)
  • แรงโน้มถ่วง เป็นแรงดึงดูดระหว่างสองมวลภายใต้สนามโน้มถ่วง
  • แรงเสียดทาน (friction) เป็นแรงที่เกิดบนพื้นผิวสัมผัสของสองวัตถุที่สัมผัสกัน แบ่งออกเป็น
  • แรงสู่ศูนย์กลาง (centrifugal force) เป็นผลมาจากแรงเสียดทานเมื่อวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้ง ทำให้เกิดแรงที่เรียกว่า แรงสู่ศูนย์กลาง มีขนาดเป็น

    F subscript c equals m fraction numerator blank to the power of blank v squared over denominator r end fraction           เมื่อ r คือรัศมีความโค้ง
  • แรงลอยตัว (buoyant force) เป็นแรงพยุงวัตถุในของของเหลวโดยขนาดของแรงลอยตัวขึ้นกับ
    ค่าปริมาตรของวัตถุที่จมในของเหลวและค่าความหนาแน่นของของเหลวนั้น เขียนสมการได้เป็น
                    F subscript B equals rho subscript l V g
  • โมเมนต์ของแรง (monment of force) เป็นผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุเพื่อให้วัตถุหมุนไปรอบจุดหมุน ดังนั้น โมเมนต์ของแรงก็คือ ผลคูณของแรงกับระยะตั้งฉากจากแนวแรงถึงจุดหมุน ดังสมการ
                    M equals F cross times L space

    และจะต้องอยู่บนกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนต์รวมในทิศทางตามเข็มนาฬิกาจะเท่ากับโมเมนต์รวมในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

ประสิทธิภาพของเครื่องกล

เครื่องมือกลอย่างง่ายในระบบกลศาสตร์ประกอบด้วย รอก คาน และพื้นเอียง ซึ่งสามารถหาการได้เปรียบเชิงกลเป็น

การได้เปรียบเชิงกลทางปฏิบัติ (Actual Mechanical Advantage) :
               
            M. A. equals น ้ ำหน ั กท ี่ ยกได ้ over แรงท ี่ ออก
การได้เปรียบเชิงกลทางทฤษฎี (Theoretical Mechanical Advantage) :

       M. A. t equals น ้ ำหน ั กท ี่ ยกได ้ over แรงท ี่ ออกเม ื่ อไม ่ ม ี แรงเส ี ยดทาน
ประสิทธิภาพของเครื่องกล (Efficiency) :

            E f f equals fraction numerator left parenthesis M. A. right parenthesis over denominator left parenthesis M. A. t right parenthesis end fraction cross times 100 percent sign