ในการวัดระยะทางและความสูง สามารถใช้ความรู้เรื่องฟังก์ชันตรีโกณ มุมก้มและมุมเงย กฏของโคไซน์และไซน์มาช่วยในการหาระยะทางและความสูงได้
มุมก้มและมุมเงยเป็นมุมที่เกิดจากแนวเส้นระดับสายตาและแนวเส้นจากตาที่มองไปที่วัตถุ ถ้าวัตถุที่มองนั้นอยู่ต่ำกว่าระดับสายตา มุมจากแนวเส้นระดับสายตาไปยังแนวเส้นที่จากตาที่มองไปที่วัตถุ จะถูกเรียกว่า มุมก้ม ในทางกลับกัน ถ้าวัตถุที่มองนั้นอยู่สูงกว่าระดับสายตา มุมจากแนวเส้นระดับสายตาไปยังแนวเส้นที่จากตาที่มองไปที่วัตถุ จะถูกเรียกว่า มุมเงย โดยขนาดของมุมทั้งสองจะเป็นจำนวนบวกเสมอ
จากภาพด้านบน จะสังเกตได้ว่า เมื่อเราต้องการหาระยะทางระหว่างผู้สังเกตกับวัตถุหรือความสูงของวัตถุจากผู้สังเกต เราจะสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติได้ โดยการเลือก ใช้อัตราส่วนตรีโกณมิติที่เหมาะสมกับข้อมูลและคำถามจากปัญหา ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 นาย ก ยืนอยู่ฝั่งหนึ่งของแม่น้ำที่จุดมองเห็นโรงแรมอยู่ฝั่งตรงข้ามที่จุด
นาย ก อยากทราบความกว้างของแม่น้ำ จึงเดินห่างไปจากจุดที่ยืนอยู่ตามริมขอบแม่น้ำเป็นระยะทาง 100 เมตร ณ จุด
ทำให้ได้รูปสามเหลี่ยมที่มีขนาดและมุม ดังรูป อยากทราบว่าแม่น้ำ ณ ตำแหน่งที่โรงแรมตั้งอยู่กว้างเท่าใด
วิธีทำ
จากรูป จะได้ว่า
ดังนั้นเมตร
ทำให้ได้ว่า ณ ตำแหน่งที่โรงแรมตั้งอยู่นั้น แม่น้ำมีความกว้างเมตร
ตัวอย่างที่ 2 นาย ก มองเห็นเรือสองลำจากหน้าผาแห่งหนึ่งซึ่งสูง 200 เมตร โดยนาย ก มองเรือสองลำในทะเลด้วยมุมก้มและ
ตามลำดับ จากเส้นระดับสายตาเดียวกัน อยากทราบว่าเรือทั้งสองลำอยู่ห่างกันเท่าใด
วิธีทำ
จากโจทย์ วาดรูปได้ดังนี้
จากรูป จะได้ว่าและ
ทำให้ ได้ว่า
และ
จากกฏของไซน์ จะได้ว่า![]()
ดังนั้น(1)
ลำดับต่อไปจะหาโดยพิจารณาสามเหลี่ยม
![]()
ซึ่งจะได้ความสัมพันธ์
ดังนั้น
![]()
แทนค่าใน (1) จะได้
![]()