การศึกษากราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของกราฟ พร้อมทั้งหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน
ตัวอย่าง จากค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของและ
ที่ทราบจากตารางด้านล่างนี้
x | ||||
sin x | ||||
cos x |
x | |||||
sin x | |||||
cos x |
เราสามารถเขียนกราฟของในช่วง
ถึง
ได้ดังนี้
ในทำนองเดียวกัน เราสามารถเขียนกราฟของในช่วง
ถึง
ได้ดังนี้
ฟังก์ชันตรีโกณมิติทุกฟังก์ชันเป็น ฟังก์ชันที่เป็นคาบ (periodic function) และสำหรับฟังก์ชันที่เป็นคาบซึ่งมีค่าต่ำสุดและค่าสูงสุด จะเห็นว่า
ตัวอย่าง พิจาณา กราฟของ และ
ด้านบน
เราจะเห็นได้ว่า ทุกๆ ความยาวช่วงย่อยยาวกราฟของ
และ
จะกลับมาซ้ำเดิมอีกครั้ง ดังนั้น เราสรุปว่า คาบ (period) ของทั้งสองฟังก์ชันนี้ มีค่าเท่ากับ
และนอกจากนี้ ค่า แอมพลิจูด ของฟังก์ชันและ
มีค่าเท่ากับ
ตัวอย่าง ต่อไป ลองวาดกราฟของ
จากกราฟ จะสังเกตได้ว่า
โดเมนของฟังก์ชันคือ เซตของจำนวนจริง
เรนจ์ของฟังก์ชันคือ ช่วงปิด
![]()
คาบของฟังก์ชันคือ คาบ เท่ากับ
แอมพลิจูดของฟังก์ชันคือ แอมพลิจูด เท่ากับ 2
ในกรณีทั่วไป เราสามารถสรุปเป็นสูตรได้ดังนี้
คุณสมบัติ | ||
คาบ | ||
แอมพลิจูด | ||
เรนจ์ |
เมื่อทราบคาบและแอมพลิจูดของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่กำหนดให้แล้ว ทำให้สามารถวาดกราฟคร่าวๆ ของฟังก์ชันดังกล่าวได้ง่ายขึ้นดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของ
วิธีทำ
คาบ คือ ……………… แอมพลิจูด คือ ………
…………..
จากกราฟ จะสังเกตได้ว่า
โดเมนของฟังก์ชันคือ …เซตของจำนวนจริง …
…
เรนจ์ของฟังก์ชันคือ …..ช่วงปิด …
…………
ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของ
วิธีทำ
คาบคือ ………………… แอมพลิจูด คือ ……
………………….
จากกราฟ จะสังเกตได้ว่า
โดเมนของฟังก์ชันคือ …เซตของจำนวนจริง …
......
เรนจ์ของฟังก์ชันคือ …...ช่วงปิด …
………….
นอกจากนี้ ในทำนองเดียวกัน เรายังสามารถเขียนกราฟของ และส่วนกลับของฟังก์ชันของตรีโกณมิติอีก 3 ฟังก์ชันที่เหลือ ได้ดังนี้
เขียนกราฟของ ในช่วง
ถึง
ได้ดังนี้
เขียนกราฟของ ในช่วง
ถึง
ได้ดังนี้
เขียนกราฟของ ในช่วง
ถึง
ได้ดังนี้ ได้ดังนี้
เขียนกราฟของ ในช่วง
ถึง
ได้ดังนี้