คือ สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนตรีโกณมิติต่างๆ โดยเอกลักษณ์ตรีโกณมิติที่สำคัญ ประกอบไปด้วย 3 ความสัมพันธ์ดังนี้
เมื่อ เป็นมุมภายใน (มุมแหลม) ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ และกำหนดให้เขียนสัญลักษณ์
แทน
,
แทน
,
แทน
…
เป็นที่สังเกตว่า เมื่อขยายไปยังแนวคิดของฟังก์ชันตรีโกณมิติ เราพบว่า เอกลักษณ์ตรีโกณมิติทั้งสามความสัมพันธ์ดังกล่าว ก็ยังคงเป็นจริง สำหรับกรณีของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ด้วยเช่นกัน กล่าวคือ
สมการตรีโกณมิติ เป็นสมการที่มีตัวแปรซึ่งติดอยู่ในฟังก์ชันตรีโกณมิติ ปรากฏอยู่ในสมการ โดยอาจสามารถแบ่งออกเป็นสองประเภท ขึ้นอยู่กับข้อจำกัดของคำตอบที่ต้องการ ดังนี้
เช่น กำหนด เราจะต้องหาคำตอบในช่วงที่กำหนดให้
ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ เมื่อกำหนดให้
วิธีทำ
จากโจทย์ กำหนด
เนื่องจากมีค่าเป็นบวกในควอดรันต์ที่ 1 และ ควอดรันต์ที่ 2
จะได้![]()
ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ ในช่วง
วิธีทำ
จากโจทย์
จะได้
นั่นคือหรือ
ถ้าจะได้
ถ้าจะได้
ดังนั้น
ในกรณีที่โจทย์ไม่กำหนดช่วงของคำตอบมาให้แสดงว่าจะต้องหาคำตอบที่เป็นไปได้ทั้งหมดบนเซตของจำนวนจริง จึงต้องตอบในรูปทั่วไป
เช่น คำตอบในช่วง คือ
จะได้คำตอบในรูปทั่วไป คือ
เมื่อ
เป็นจำนวนเต็มใดๆ
ตัวอย่าง จงหาคำตอบทั้งหมดของสมการ
วิธีทำ
จากโจทย์![]()
ถ้าจะได้
ตัวอย่าง จงหา คำตอบทั่วไปของสมการ
วิธีทำ
พิจารณา จากเอกลักษณ์ตรีโกณมิติทำให้เราได้ว่า
เมื่อนำไปแทนค่าลงในสมการโจทย์ จะได้
แต่เนื่องจากเท่านั้น ดังนั้น
เกิดขึ้นไม่ได้ เราจึงพิจารณาเพียง กรณีที่
เท่านั้น
พิจารณา ถ้าจะได้
![]()