ตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่าง
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
กฎของโคไซน์และไซน์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การประยุกต์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ฟังก์ชั่นตรีโกณมิติผกผัน
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

กฎของโคไซน์และไซน์

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

กฎของโคไซน์และไซน์ (ชุดที่ 1)

MEDIUM

กฎของโคไซน์และไซน์ (ชุดที่ 2)

HARD

กฎของโคไซน์และไซน์ (ชุดที่ 3)

เนื้อหา

กฎของโคไซน์และไซน์

 สำหรับรูปสามเหลี่ยม begin mathsize 14px style A B C end style ใด ๆ กำหนดให้ ab และ c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม AB และ C ตามลำดับ ดังรูป

        

จะได้ ความสัมพันธ์ตามกฏของโคไซน์และไซน์ ดังนี้

กฎของโคไซน์    

a squared equals b squared plus c squared minus 2 b c space cos A
b squared equals c squared plus a squared minus 2 a c space cos B
c squared equals a squared plus b squared minus 2 a b space cos C    

จากกฎของโคไซน์ จะสังเกตได้ว่า

  1. หากเราทราบขนาดมุมหนึ่งและความยาวด้านประกอบมุมนั้นแล้ว
    เราจะสามารถหาความยาวด้านตรงข้ามมุมนั้นได้
  2. หากเราทราบด้านทางสามด้านของสามเหลี่ยมใด ๆ
    เราจะสามารถหาค่าโคไซน์ของมุมทั้งสามได้

กฏของไซน์   

  fraction numerator sin A over denominator a end fraction equals fraction numerator sin begin display style B end style over denominator b end fraction equals fraction numerator sin begin display style C end style over denominator c end fraction  

จากกฎของไซน์ จะสังเกตได้ว่า

  1. หากเราทราบไซน์ของมุม 2 มุมในสามเหลี่ยมและทราบความยาวของด้านตรงข้ามมุมด้านหนึ่งจาก 2 มุมนั้นแล้ว เราสามารถหาความยาวของด้านตรงข้ามของอีกมุมหนึ่งได้
  2. ถ้าเราทราบอัตราส่วนของไซน์ของมุมทั้งสามแล้ว เราจะสามารถหาอัตราส่วนของความยาวของด้านตรงข้ามมุมทั้งสามได้ และในทางกลับกัน หากเราทราบอัตราส่วนของความยาวของด้านตรงข้ามมุมทั้งสามแล้ว เราจะสามารถหาอัตราส่วนของค่าไซน์ของมุมทั้งสามได้เช่นกัน