ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ตัวผกผันของความสัมพันธ์และฟังก์ชันจากเซต A ไป B
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ฟังก์ชันเชิงเส้นและฟังก์ชันกำลังสอง
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การแก้สมการและอสมการโดยใชักราฟ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ฟังก์ชันประกอบและฟังก์ชันผกผัน
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เรื่องฟังก์ชันกำลังสองและกราฟ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ฟังก์ชันอื่นๆ ที่สำคัญ
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

ฟังก์ชันอื่นๆ ที่สำคัญ

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล

EASY

ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์

EASY

ฟังก์ชันขั้นบันได

เนื้อหา

ฟังก์ชันอื่นๆ ที่สำคัญ

ฟังก์ชันนั้นมีอยู่หลายรูปแบบ แต่ละแบบก็มีการเรียกชื่อที่ไม่เหมือนกัน โดยหัวข้อก่อนหน้าเราได้ทำความรู้จักกับฟังก์ชันเส้นตรงและฟังก์ชันกำลังสองมาแล้ว แต่ยังมีฟังก์ชันอื่นๆ ที่สำคัญที่ควรรู้จัก ซึ่งในหัวข้อนี้กล่าวถึง  ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ และ ฟังก์ชันขั้นบันได

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล  คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป

f open parentheses x close parentheses equals a to the power of x เมื่อ a greater than 0 และ  a not equal to 1

ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ f open parentheses x close parentheses equals 2 to the power of x, g open parentheses x close parentheses equals 3 to the power of x และ  h open parentheses x close parentheses equals open parentheses 1 half close parentheses to the power of x

จากฟังก์ชันที่กำหนด สามารถเขียนกราฟได้ดังนี้ 

จากตัวอย่างจะได้ว่า ลักษณะของกราฟฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะแบ่งเป็น 2 กรณี

กรณีที่ 1 เมื่อ a greater than 1กรณีที่ 2 เมื่อ 0 less than a less than 1
เมื่อค่า X มีค่าเพิ่มขึ้น f open parentheses x close parentheses จะมีค่าเพิ่มขึ้น
เมื่อค่า X มีค่าลดลง f open parentheses x close parentheses จะมีค่าลดลง และมีค่าเข้าใกล้ศูนย์
เมื่อค่า X มีค่าเพิ่มขึ้น f open parentheses x close parentheses จะมีค่าลดลง และมีค่าเข้าใกล้ศูนย์
เมื่อค่า X มีค่าลดลง f open parentheses x close parentheses จะมีค่าเพิ่มขึ้น


ข้อสังเกต
1. โดเมนของฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลคือ squareและเรนจ์ของฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลคือ square to the power of plus
2. กราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลจะผ่านจุด open parentheses 0 comma 1 close parentheses เสมอ เพราะ a to the power of 0 equals 1 โดยที่ a not equal to 1

ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์

ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป

f open parentheses x close parentheses equals open vertical bar x minus a close vertical bar plus c เมื่อ  a และ c เป็นจำนวนจริง

ตัวอย่างที่2 กำหนดให้ f open parentheses x close parentheses equals open vertical bar x close vertical bar comma space h open parentheses x close parentheses equals open vertical bar x plus 1 close vertical bar  และ  g open parentheses x close parentheses equals open vertical bar x minus 1 close vertical bar

จากฟังก์ชันที่กำหนด สามารถเขียนกราฟได้ดังนี้

ตัวอย่างที่ 3 กำหนดให้ f open parentheses x close parentheses equals open vertical bar x minus 1 close vertical bar comma space h open parentheses x close parentheses equals open vertical bar x minus 1 close vertical bar plus 1 
และ  g open parentheses x close parentheses equals open vertical bar x minus 1 close vertical bar minus 1

จากฟังก์ชันที่กำหนด สามารถเขียนกราฟได้ดังนี้
  • จากตัวอย่างเห็นว่า กราฟของฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์มีลักษณะเป็นรูปตัววี และมีจุดยอดที่พิกัด open parentheses a comma c close parentheses

ฟังก์ชันขั้นบันได

ฟังก์ชันขั้นบันได คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของจำนวนจริง และมีค่าฟังก์ชันคงตัวเป็นช่วงๆ มากกว่า 2 ช่วง กราฟของฟังก์ชันนี้มีลักษณะคล้ายขั้นบันได ตัวอย่างเช่น

Error converting from MathML to accessible text