การหาคำตอบของสมการกำลังสอง เมื่อ
และ
สามารถพิจารณาจากกราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
ได้ โดยจุดที่กราฟตัดแกน
เป็นจุดที่
และค่าของ ในพิกัดของ
จุดตัดแกน
ก็จะคือคำตอบของสมการ
นั่นเอง เนื่องจากกราฟของฟังก์ชันกำลังสองมีลักษณะเป็นเส้นโค้งหงายหรือเส้นโค้งคว่ำทำให้กราฟแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะดังนี้
1. กราฟไม่ตัดแกน X
กรณีนี้จะไม่มีคำตอบของ สมการ
ที่เป็นจำนวนจริง ซึ่งจะสังเกตได้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อกราฟเป็นเส้นโค้งหงายและจุดวกกลับอยู่เหนือแกน
(ฟังก์ชันจะอยู่ในรูป
เมื่อ
และ
) หรือ กราฟเป็นเส้นโค้งคว่ำและจุดวกกลับอยู่ใต้แกน
(ฟังก์ชันจะอยู่ในรูป
เมื่อ
และ
)
กรณีนี้สมการ จะมีคำตอบที่เป็นจำนวนจริงเพียงคำตอบเดียว ซึ่งจะสังเกตได้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อฟังก์ชันอยู่ในรูป
นั่นคือจะมีเพียงค่า
ที่จะทำให้
กรณีนี้สมการ จะมีคำตอบที่เป็นจำนวนจริงสองคำตอบ ซึ่งจะสังเกตได้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อกราฟเป็นเส้นโค้งหงายและจุดวกกลับอยู่ใต้แกน
(ฟังก์ชันจะอยู่ในรูป
เมื่อ
และ
) หรือ กราฟเป็นเส้นโค้งคว่ำและจุดวกกลับอยู่เหนือแกน
(ฟังก์ชันจะอยู่ในรูป
เมื่อ
และ
)
นอกจากจะใช้กราฟช่วยในการหาคำตอบของสมการแล้ว เรายังสามารถใช้กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง หาคำตอบของอสมการกำลังสองซึ่งอยู่ในรูป
หรือ
หรือ
หรือ
ได้อีกด้วย โดยการหาค่าของ
ที่ทำให้
หรือ
หรือ
หรือ
นั่นเอง
ตัวอย่างที่1 จากกราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
วิธีทำ
จะเห็นได้ว่ากราฟตัดแกนสองจุดที่
และ
โดยในช่วงกราฟจะอยู่ใต้แกน
นั่นคือ
ส่วนหรือ
กราฟจะอยู่เหนือแกน
นั่นคือ
จะได้ว่าเป็นคำตอบของอสมการ
และ
หรือ
เป็นคำตอบของอสมการ
ในการหาคำตอบของอสมการกำลังสองโดยใช้กราฟจะเริ่มจากการจัดรูปอสมการให้ด้านใดด้านหนึ่งเป็น 0 แล้วหาจุดตัดแกน ของฟังก์ชันกำลังสอง
ถ้าต้องการหาคำตอบของอสมการ
หรือ
ให้หาช่วงของค่าที่ทำให้กราฟอยู่ใต้แกน
และถ้าต้องการหาคำตอบของอสมการ
หรือ
ให้หาช่วงของค่า
ที่ทำให้กราฟอยู่เหนือแกน
โดยช่วงของค่า
จะถูกแบ่งโดยจุดตัดแกน
นั่นเอง หรืออาจจะหาคำตอบของอสมการกำลังสองโดยแบ่งพิจารณา 2 ฟังก์ชันก็ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่2 จงหาคำตอบของอสมการ
วิธีที่ 1
อสมการ![]()
สามารถจัดให้อยู่ในรูปอสมการ
ให้
หาจุดตัดแกน;
![]()
![]()
จุดตัดแกนคือ
และ
![]()
พิจารณากราฟของซึ่งเป็นโค้งหงาย
จะได้ว่าเมื่อ
วิธีที่ 2
จากอสมการ
แบ่งพิจารณากราฟของ 2 ฟังก์ชัน คือและ
หาจุดตัดของกราฟทั้งสอง จาก
ซึ่งจะได้ว่ากราฟทั้งสองตัดกันที่จุดและ
เมื่อพิจารณาจากกราฟ ค่าของฟังก์ชันจะมีค่ามากกว่าค่าของฟังก์ชัน
เมื่อ