นั่นคือ
ฟังก์ชันประกอบ เป็นฟังก์ชันใหม่ที่สร้างขึ้นจากการนำสองฟังก์ชันใดๆ มาเชื่อมต่อกัน
ถ้ากำหนดให้ และ
เป็นฟังก์ชันดังแผนภาพ
จากแผนภาพจะได้
และ
จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า และ
เป็นฟังก์ชัน โดยที่
ทำให้เราสามารถสร้างฟังก์ชันใหม่ได้ เป็นฟังก์ชันจากเซต A ไปเซต C ซึ่งเขียนแทนฟังก์ชันนี้ด้วย
(อ่านว่าจีโอเอฟ) และเรียกว่า ฟังก์ชันประกอบของ
และ
ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ และ
จงหาฟังก์ชัน
และ
วิธีทำ
สังเกตว่าและ
และ
จะได้ว่าและ
ดังนั้นเราสามารถสร้างฟังก์ชันและ
ได้
นั่นคือ
และ
จากที่เรารู้จากหัวข้อก่อนหน้านี้ว่า ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ ดังนั้น การหาตัวผกผันของฟังก์ชันจึงสามารถหาได้เช่นเดียวกับการหาตัวผกผันของความสัมพันธ์ โดยการสลับบทบาทระหว่างสมาชิกตัวหน้ากับสมาชิกตัวหลังของฟังก์ชันได้ แต่ตัวผกผันของฟังก์ชันไม่จำเป็นฟังก์ชันเสมอไป ตัวอย่างเช่น
เราจะเรียกตัวผกผันของฟังก์ชันที่เป็นฟังก์ชันว่า ฟังก์ชันผกผัน จากตัวอย่างข้างต้นนั้น จะเห็นว่า ฟังก์ชันที่หาฟังก์ชันผกผันได้นั้น จะต้องเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
กำหนดให้ เป็นฟังก์ชัน
1. เป็นฟังก์ชัน เมื่อ
เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
2. และ
ตัวอย่างที่2 กำหนดให้ จงหาฟังก์ชัน
วิธีทำ
เนื่องจากเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ดังนั้นตัวผกผันของ
เป็นฟังก์ชัน
ในการหานั้นเริ่มต้นให้
จากนั้นสลับบทบาทระหว่างกับ
นั่นคือ
แก้สมการหาค่าจะได้