ถ้า
เมื่อพิจารณาจำนวนนับสองจำนวน เช่น 2 กับ 8 เราอาจกล่าวได้ว่าจำนวนทั้งสองนี้เกี่ยวข้องกันโดย “2 มีค่าน้อยกว่า 8” หรือ “2 เป็นรากที่สามของ 8” คำว่า “น้อยกว่า” หรือ “เป็นรากที่สาม” คือคำที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนทั้งสองนี้ได้ ดังนั้น ความสัมพันธ์ในทางคณิตศาสตร์จึงเกิดจากสิ่งสองสิ่งที่เกี่ยวข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง เราจึงสามารถใช้คู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลังได้
คือ เซตของคู่อันดับซึ่งเป็นสับเซตของผลคูณคาร์ทีเซียนระหว่างเซต 2 เซต
ตัวอย่างที่1 กำหนดให้ และ
ถ้าให้เป็นความสัมพันธ์ “เป็นสองเท่า” จากเซต
ไปยังเซต
จะได้
ซึ่งในการเขียนแสดงความสัมพันธ์จะเขียนแบบแจกแจงสมาชิกหรือแบบบอกเงื่อนไขก็ได้ ความสัมพันธ์จึงสามารถเขียนแบบบอกเงื่อนไขได้ดังนี้
ในกรณีที่เซตและเซต
เป็นเซตของจำนวนจริง เราจะสามารถเขียนเซตของความสัมพันธ์โดยละเว้นการเขียน
ได้ เช่น
นิยามโดเมน ของความสัมพันธ์ เขียนแทนด้วย
คือ เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของความสัมพันธ์
นั่นคือ
เรนจ์ ของความสัมพันธ์ เขียนแทนด้วย
คือ เซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์
นั่นคือ
จากตัวอย่างที่ 1 จะได้ และ
ในการหาโดเมนของความสัมพันธ์ที่เขียนในรูปแบบบอกเงื่อนไขจะเขียน ให้อยู่ในรูปของ
แล้วพิจารณาว่าค่า
ใดบ้างที่ทำให้หาค่า
ได้ เช่นเดียวกันกับการหาเรนจ์ก็จะเขียน
ให้อยู่ในรูปของ
แล้วพิจารณาว่าค่า
ใดบ้างที่ทำให้หาค่า
ได้ร่วมกับการพิจารณาโดเมน เช่น จาก
พิจารณา
จะได้
และ
ตัวอย่างที่ 2
กำหนดให้![]()
จะได้ว่าและ
และ
นอกจากนี้การหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์สามารถพิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ได้เช่นกัน
ตัวอย่างที่ 3
กำหนดให้ซึ่งกราฟของความสัมพันธ์นี้คือรูปครึ่งวงกลมที่มีรัศมีเท่ากับ 2 ดังรูป
เมื่อพิจารณาค่าของและ
จากกราฟ จะได้ว่า
และ
คือ ความสัมพันธ์ที่สมาชิกในโดเมนแต่ละตัวจับคู่กับสมาชิกในเรนจ์ของความสัมพันธ์เพียงตัวเดียวเท่านั้น
ตัวอย่างที่4
กำหนดให้ และ
พิจารณาความสัมพันธ์จากเซต
ไปยังเซต
ต่อไปนี้ว่าเป็นฟังก์ชันหรือไม่
1)
ความสัมพันธ์ไม่เป็นฟังก์ชัน เพราะ
และ
แต่
2)
ความสัมพันธ์ไม่เป็นฟังก์ชัน เพราะ
กรณีที่ความสัมพันธ์เขียนในรูปแบบบอกเงื่อนไข การพิจารณาการจับคู่ของสมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับอาจทำได้ยาก ในการพิจารณาว่าความสัมพันธ์ใดเป็นฟังก์ชันอาจจะพิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์นั้นได้เช่นกัน โดยการลากเส้นตรงขนานกับแกน หากไม่มีเส้นตรงใดตัดกราฟของความสัมพันธ์ที่กำหนดมากกว่า 1 จุด ความสัมพันธ์นั้นจะเป็นฟังก์ชัน
ตัวอย่างที่ 5
กำหนดให้
พิจารณากราฟของความสัมพันธ์![]()
เมื่อลากเส้นตรงจะตัดกราฟ 2 จุด คือ จุด
และ