จำนวนจริง
เซตและสมบัติของจำนวนจริง
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การแยกตัวประกอบพหุนาม
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมการพหุนามดีกรีสองและโจทย์ปัญหา
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมบัติอสมการและการแก้อสมการ
PAT
ออกสอบ
100%
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความหมายและสมบัติของค่าสมบูรณ์จำนวนจริงและสมการค่าสัมบูรณ์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อสมการค่าสัมบูรณ์
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

การแยกตัวประกอบพหุนาม

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

การแยกตัวประกอบพหุนาม

MEDIUM

การแยกตัวประกอบพหุนาม

HARD

การแยกตัวประกอบพหุนาม

เนื้อหา

การแยกตัวประกอบพหุนาม

ในคณิตศาสตร์มีการเขียนสัญลักษณ์เพื่อแทนสิ่งต่าง ๆ สัญลักษณ์เหล่านี้เรียกว่า ตัวแปร นิยมใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก เช่น x comma space y space comma z  สำหรับจำนวนจริงต่าง ๆ จะเรียกว่า ค่าคงที่ ข้อความในรูปสัญลักษณ์ที่เกิดจากการคูณกันของตัวแปรและค่าคงที่ เช่น 4 comma negative 2 x space comma 3 plus y เรียกว่า นิพจน์

เอกนาม

คือ นิพจน์ที่อยู่ในรูปการคูณของค่าคงที่กับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กำลังของตัวแปรเป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ เช่น negative 3 comma 4 x comma 3 x y comma y cubed

พนุนาม

คือ นิพจน์ที่อยู่ในรูปของเอกนามหรือการบวกเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไป เช่น 1 plus x comma space 2 plus 4 x plus x squared

ดีกรีของเอกนาม

คือ ผลบวกของเลขชี้กำลังของตัวแปรในเอกนาม เช่น

  • 2 มีดีกรีเป็นศูนย์
  • 4 x มีดีกรีเป็นหนึ่ง
  •  x squaredมีดีกรีเป็นสอง
  •  8 x yมีดีกรีเป็นสอง

ดีกรีของพหุนาม

คือ ดีกรีสูงสุงของเอกนามในพหุนามนั้น เช่น

  • x squared plus x plus 2   มีดีกรีเป็นสาม
  • x y plus x minus 2   มีดีกรีเป็นสอง

การแยกตัวประกอบของพหุนามแบบดึงตัวร่วม

พหุนามที่มีเอกนามหลายเอกนามที่มีตัวแปรหรือค่าคงที่ร่วมกันปรากฎอยู่ สามารถใช้สมบัติการแจกแจง เพื่อแยกตัวประกอบพหุนามนี้ได้ เช่น

  1. x y plus x equals x left parenthesis y plus 1 right parenthesis
  2. 5 x squared plus 10 x equals 5 x left parenthesis x plus 2 right parenthesis

การแยกตัวประกอบแบบจัดกลุ่ม

นอกจากนี้การดึงตัวร่วม สามารถนำไปใช้ในการแยกตัวประกอบแบบจัดกลุ่มด้วย เช่น

begin mathsize 14px style x cubed minus 5 x squared plus 3 x minus 15 equals left parenthesis x cubed minus 5 x squared right parenthesis plus left parenthesis 3 x minus 15 right parenthesis end style
                       begin mathsize 14px style equals x squared left parenthesis x minus 5 right parenthesis plus 3 left parenthesis x minus 5 right parenthesis end style
                       begin mathsize 14px style equals left parenthesis x minus 5 right parenthesis left parenthesis x squared plus 3 right parenthesis end style