จำนวนจริง
เซตและสมบัติของจำนวนจริง
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การแยกตัวประกอบพหุนาม
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมการพหุนามดีกรีสองและโจทย์ปัญหา
PAT
ออกสอบ
67%
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สมบัติอสมการและการแก้อสมการ
PAT
ออกสอบ
100%
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความหมายและสมบัติของค่าสมบูรณ์จำนวนจริงและสมการค่าสัมบูรณ์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อสมการค่าสัมบูรณ์
PAT
ออกสอบ
33%
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

เซตและสมบัติของจำนวนจริง

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

เซตและสมบัติของจำนวนจริง

MEDIUM

เซตและสมบัติของจำนวนจริง

HARD

เซตและสมบัติของจำนวนจริง

เนื้อหา

เซตของจำนวนจริง

จำนวนจริง

เป็นจำนวนที่เราใช้ในชีวิตประจำวันซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์โดยใช้สิ่งต่างรอบตัวเพื่อมาแสดงถึงจำนวนสัตว์เลี้ยง ในสมัยแรกๆ มนุษย์ได้รู้จักกับจำนวนนับ ต่อมามีการพัฒนามากขึ้นเรื่อยๆ มนุษย์จึงได้สร้างจำนวนชนิดอื่นๆ ขึ้นมาเพื่ออธิบายสิ่งต่างๆ เช่น น้ำหนัก อุณหภูมิ ความยาวของสิ่งต่างๆ เป็นต้น  จำนวนเหล่านี้เหล่านี้ เรียกว่า จำนวนจริง

เซตของจำนวนจริงแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ calligraphic i ประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ ดังนี้

  1. เซตของจำนวนนับหรือเซตของจำนวนเต็มบวก แทนได้ด้วยสัญลักษณ์ straight I to the power of plus
    straight I to the power of plus= {1,2,3,K}
  2. เซตของจำนวนเต็มลบ แทนได้ด้วยสัญลักษณ์ straight I to the power of minus
    straight I to the power of minus= {K,-3,-2,-1}
  3. เซตของจำนวนตรรกยะ แทนได้ด้วยสัญลักษณ์ circled plus
    เป็นสับเซตของจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน โดยทั้งเศษและส่วนเป็นจำนวนเต็ม และส่วนไม่เป็นศูนย์  ตัวอย่างเช่น 

negative space 2fraction numerator negative 2 over denominator 1 end fraction,0=0 over 1,1 third, ทศนิยมซ้ำ

  1. เซตของจำนวนอตรรกยะ แทนได้ด้วยสัญลักษณ์ circled plus to the power of c เป็นสับเซตของจำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะ ตัวอย่างเช่น

straight pi,straight pi over 9,e,square root of 2,square root of 3

ทศนิยมซ้ำ

ทศนิยมซ้ำสามารถเขียนได้เป็นเศษส่วนจำนวนเต็มได้เสมอ เช่น
0.555 K equals 0.5 equals5 over 9
0.3454545 K equals 0.345 equals342 over 990

แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของเซตของจำนวนต่างๆ

สมบัติการบวก

การบวกกันของจำนวนจริงสองจำนวนเป็นการนำสองจำนวนนั้นมารวมกันเพื่อให้ได้จำนวนอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเป็นจำนวนใหม่ หรืออาจจะเป็นจำนวนที่ซ้ำกับจำนวนใดจำนวนหนึ่งในสองจำนวนนั้น ในระบบจำนวนจริงนั้นจะมีจำนวนอยู่หนึ่งจำนวนที่เป็นเอกลักษณ์การบวก คือ 0 กล่าวคือ เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ    a+0=a=0=a

นอกจากนั้นยังมีอินเวอร์สการบวกของจำนวนจริง a หมายถึง  จำนวนจริงที่บวกกับ a แล้วได้ผลลัพธ์เป็น 0 แทนอินเวอร์สการบวกของ a นั้นว่า  negative aกล่าวคือ เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ    a+(negative a)=0=(negative a)+a

ตัวอย่าง อินเวอร์สการบวก

-2  เป็นอินเวอร์สการบวกของ 2
 6 เป็นอินเวอร์สการบวกของ -6


นอกจากนี้ในการบวกจำนวนจริงยังมีสมบัติปิด สมบัติการสลับที่ และสมบัติการเปลี่ยนหมู่

สมบัติการบวกตัวอย่าง
ปิดbegin mathsize 12px style a plus b element of i end stylesize 12px 1 size 12px plus size 12px 2 size 12px equals size 12px 3 size 12px element of size 12px i
การสลับที่begin mathsize 12px style a plus b equals b plus a end stylebegin mathsize 12px style 2 plus 3 equals 3 plus 2 end style
การเปลี่ยนหมู่begin mathsize 12px style left parenthesis a plus b right parenthesis plus c space equals space a plus left parenthesis b plus c right parenthesis end stylebegin mathsize 11px style 1 plus left parenthesis 2 plus 3 right parenthesis equals left parenthesis 1 plus 2 right parenthesis plus 3 end style
การมีเอกลักษณ์มี 0 เป็นเอกลักษณ์ โดยที่
 begin mathsize 12px style a plus 0 equals a equals 0 plus a end style
begin mathsize 12px style 0 plus 4 equals 4 plus 0 end style
การมีอินเวอร์สอินเวอร์สของจำนวนจริง a คือ negative a โดยที่
 size 12px a size 12px space size 12px plus size 12px left parenthesis size 12px minus size 12px a size 12px right parenthesis size 12px equals size 12px 0 size 12px equals size 12px left parenthesis size 12px minus size 12px a size 12px right parenthesis size 12px plus size 12px a
begin mathsize 11px style left parenthesis negative 5 right parenthesis plus 5 space equals 5 plus left parenthesis negative 5 right parenthesis end style 

ตัวอย่าง

ข้อความต่อไปนี้เป็นจริงตามสมบัติของจำนวนจริงข้อใด
  1.  square root of 3+straight pi เป็นจำนวนจริง (สมบัติปิด)
  2. left parenthesis 5 plus 8 right parenthesis plus 1 equals 5 plus left parenthesis 1 plus 8 right parenthesis (สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มและสมบัติการสลับที่)
  3. 2 plus 0 equals 2 space left parenthesisสมบัติการมีเอกลักษณ์)
  4. 7 plus left parenthesis negative 7 right parenthesis equals 0 (สมบัติการมีอินเวอร์ส)


สมบัติการคูณ

ในระบบจำนวนจริงนั้นจะมีจำนวนอยู่หนึ่งจำนวนที่เป็นเอกลักษณ์การคูณ คือ 1 กล่าวคือ เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ  นอกจากนั้นยังมีอินเวอร์สการคูณของจำนวนจริง a หมายถึง  จำนวนจริงที่คูณกับ a แล้วได้ผลลัพธ์เป็น 1 แทนอินเวอร์สการคูณของ anot equal to0 นั้นว่า a to the power of negative 1 end exponent  กล่าวคือ

เมื่อ a  เป็นจำนวนจริงใดๆ    a     timesa to the power of negative 1 end exponent=1=a to the power of negative 1 end exponenttimesa

ตัวอย่าง อินเวอร์สการคูณ

  fraction numerator negative 1 over denominator 6 end fractionเป็นอินเวอร์สการคูณของ negative 6
 7 over 10 เป็นอินเวอร์สการคูณของ 10 over 7

นอกจากนี้ในการคูณจำนวนจริงยังมีสมบัติปิด สมบัติการสลับที่ และสมบัติการเปลี่ยนหมู่

สมบัติการคูณตัวอย่าง
ปิดbegin mathsize 12px style a times b element of i end stylesize 12px 1 size 12px times size 12px 2 size 12px equals size 12px 2 size 12px element of
การสลับที่begin mathsize 12px style a times b equals b times a end stylebegin mathsize 12px style 2 times 3 equals 3 times 2 end style
การเปลี่ยนหมู่begin mathsize 12px style left parenthesis a times b right parenthesis times c equals a times left parenthesis b times c right parenthesis end stylebegin mathsize 12px style 1 times left parenthesis 2 times 3 right parenthesis equals left parenthesis 1 times 2 right parenthesis times 3 end style
การมีเอกลักษณ์มี 1 เป็นเอกลักษณ์ โดยที่
 begin mathsize 12px style a times 1 equals a space equals 1 times a end style
begin mathsize 12px style 1 times 4 equals 4 times 1 end style
การมีอินเวอร์สอินเวอร์สของจำนวนจริง begin mathsize 12px style a not equal to 0 end style คือ begin mathsize 12px style a to the power of negative 1 end exponent end style โดยที่
 begin mathsize 12px style a times a to the power of negative 1 end exponent equals 1 equals a to the power of negative 1 end exponent times a end style
begin mathsize 12px style 5 times 5 to the power of negative 1 end exponent equals 5 to the power of negative 1 end exponent times 5 end style 

สมบัติการแจกแจง

เป็นสมบัติการบวกร่วมกับสมบัติการคูณ

ตัวอย่าง

ข้อความต่อไปนี้เป็นจริงตามสมบัติของจำนวนจริงข้อใด
  1. มีจำนวนจริงที่คูณกับ 0.11 แล้วได้  1(สมบัติการมี  อินเวอร์สการคูณ)
  2.  5 cross times 1 equals 5(สมบัติการมีเอกลักษณ์การคูณ)
  3.  25 cross times left parenthesis 1 plus 4 right parenthesis equals 25 plus 100(สมบัติการแจกแจง)

ตัวอย่าง

เซตของจำนวนเต็มลบ มีสมบัติปิดของการคูณหรือไม่

ตอบ ไม่มี เช่น negative 2   และ  negative 3 เป็นสมาชิกของจำนวนเต็มลบ
แต่ left parenthesis negative 2 right parenthesis left parenthesis negative 3 right parenthesis equals 6 ซึ่ง 6 ไม่ได้เป็นสมาชิกของเซตของจำนวนเต็มลบ