อารยธรรมของโลกยุคโบราณ
ความเจริญของมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมอียิปต์
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมกรีก
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมโรมัน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันออก: อารยธรรมอินเดีย
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันออก: อารยธรรมจีน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การติดต่อระหว่างโลกตะวันออกและโลกตะวันตก
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
พัฒนาการของมนุษยชาติในสมัยกลางสู่ยุคแห่งการปฏิวัติ การปฏิรูป และยุคแห่งความสว่างไสวทางปัญญา
ระบบฟิวดัลหรือระบบศักดินาสวามิภักดิ์ (Feudalism)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามครูเสด (Crusade War)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ (Renaissance)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ยุคแห่งการสำรวจทางทะเล (Age of Exploration)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ยุคแห่งความสว่างไสวทางปัญญา (Age of Enlightenment)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
พัฒนาการของโลกในสมัยจักรวรรดินิยมถึงปัจจุบัน
พัฒนาการของรัฐชาติในยุโรป
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ยุคจักรวรรดินิยม
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามโลกครั้งที่ 1
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามโลกครั้งที่ 2
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามเย็น
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ปัญหาตะวันออกกลาง
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความขัดแย้งของมนุษยชาติ
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความร่วมมือของมนุษยชาติ
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ถึงปัจจุบัน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

ความร่วมมือของมนุษยชาติ

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

ความร่วมมือของมนุษยชาติ (ชุดที่ 1)

HARD

ความร่วมมือของมนุษยชาติ (ชุดที่ 2)

news

ความร่วมมือของมนุษยชาติ

เนื้อหา

ความร่วมมือของมนุษยชาติ

        ความร่วมมือ หมายถึง การทำงานร่วมกันของกลุ่มคน โดยความร่วมมือกันมีหลายลักษณะ เช่น ความร่วมมือในเวลาปกติ ได้แก่ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาหรือลดความขัดแย้ง ความร่วมมือเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศอื่นหรือกลุ่มอื่น ความร่วมมือที่เป็นการสานประโยชน์ เช่น องค์การการค้าโลก (WTO) เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก (APEC)

       ความร่วมมือมีหลายประเภท คือ

  • ความร่วมมือทางการเมือง
  • ความร่วมมือทางการทหาร
  • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
  • ความร่วมมือทางการศึกษา วัฒนธรรมและอื่น ๆ
  • ความร่วมมือเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อน

       ลักษณะของความร่วมมือมีอยู่หลายระดับ เช่น

      1. องค์การระหว่างประเทศระดับระหว่างรัฐ (IGO) อาทิ สันนิบาตชาติ สหประชาชาติ องค์การการค้าโลก สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือหรือนาโต
      2. องค์การระหว่างประเทศระดับเหนือรัฐ คือ องค์กรที่มีอำนาจเหนือรัฐสมาชิกทั้งหมดภายใต้ความตกลงระหว่างประเทศ โดยประเทศสมาชิกแต่ละรัฐจะมอบอำนาจอธิปไตยหรือมอบตัวแทนอำนาจการตัดสินใจมาให้องค์กรเหนือรัฐเป็นผู้ใช้แทน จึงทำให้รัฐสมาชิกต้องปฏิบัติตามมติขององค์กรเหนือรัฐ แม้ว่าจะไม่เห็นด้วยก็ตาม ซึ่งองค์การระหว่างประเทศที่จัดว่าเป็นองค์กรเหนือรัฐในปัจจุบันก็คือ สหภาพยุโรป (EU)
      3. องค์การนอกภาครัฐ (NGO) ได้แก่ การรวมตัวกันของภาคเอกชนในแต่ละประเทศเพื่อร่วมกันมีกิจกรรมระหว่างประเทศ เป็นการติดต่อข้ามประเทศโดยตรงไปยังองค์การเอกชนในประเทศอื่น โดยไม่ต้องผ่านรัฐบาลของแต่ละฝ่าย เช่น องค์การกีฬา องค์การศาสนา องค์การเพื่อสิทธิมนุษยชน องค์การักษาสิ่งแวดล้อม และความร่วมมือข้ามชาติทางวิชาการระหว่างสถาบันต่าง ๆ
     4. บริษัทธุรกิจข้ามชาติ (TNC) ได้แก่ บริษัทการค้าและธุรกิจขนาดใหญ่ในประเทศต่าง ๆ ที่มีการลงทุนอยู่ในประเทศอื่นหลายประเทศในลักษณะข้ามชาติ
     5. ขบวนการระหว่างประเทศหรือสถาบันกึ่งรัฐบาล เช่น กลุ่มไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด องค์การบริหารแห่งชาติของชาวปาเลสไตน์ มีสถานะกึ่งรัฐบาลซึ่งมีประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐบาล และรัฐสภา เช่นเดียวกับรัฐโดยทั่วไป แต่ยังไม่มีดินแดนและประชากรที่แน่นอนและไม่มีอำนาจอธิปไตยครบถ้วนเท่ากับรัฐเท่านั้น

       ตัวอย่างความร่วมมือระหว่างประเทศ

        1.  องค์การสันนิบาตชาติ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ผู้นำประเทศตะวันตก ต่างตระหนักถึงปัญหาความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลก และการหาแนวทางป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดสงครามขึ้น ทุกประเทศจึงเห็นชอบให้จัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติ ซึ่งเป็นองค์การระดับประเทศองค์กรแรก องค์การสันนิบาตชาติประสบความล้มเหลวในการรักษาสันติภาพดังกล่าว ส่งผลให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้น

        2.  องค์การสหประชาติ (UN) ในระหว่างสงครามโลก  ครั้งที่ 2 เซอร์วินตัน เชอร์ชิลล์ ผู้นำอังกฤษและนายแฟรงกลิน ดี. รูสเวลต์ ผู้นำของสหรัฐอเมริกาได้พบปะกัน และเห็นว่าควรจัดตั้งองค์กรที่เป็นกลางเพื่อรักษาสันติภาพของโลก
        องค์การสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ  เมื่อ ค.ศ.1945 มีประเทศแรกก่อตั้ง 51 ประเทศ ประเทศไทยเป็นสมาชิกลำดับที่ 55 องค์การสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาสันติภาพและความมั่นคงของโลก สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน และสร้างความสมานฉันท์ในการดำเนินนโยบายของชาติต่าง ๆ องค์กรหลักของสหประชาชาติประกอบด้วย 6 องค์กร ได้แก่

      -  สมัชชาสหประชาชาติ เป็นการประชุมใหญ่ของประเทศสมาชิกทั้งหมด แต่ละประเทศมีสิทธิออกเสียงประเทศละ 1 เสียงเท่าเทียมกัน
      -  คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ  มีสมาชิก 15 ประเทศ ซึ่งมาจากการเลือกสมัชชาสหประชาชาติ มีวาระ 2 ปี
      -  ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศหรือศาลโลก สำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์
      -  คณะมนตรีภาวะทรัสตี มีหน้าที่ดูแลดินแดนที่ยังไม่ได้รับเอกราชให้มีความพร้อมที่จะปกครองตนเอง
      -  คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ มีหน้าที่ให้ข้อเสนอแนะการแก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
      -  สำนักเลขาธิการ มีหน้าที่ดูแลงานบริหารและประสานงานตามที่องค์การต่าง ๆ ของสหประชาชาติ

        3.  กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก (APEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 1989 โดยข้อเสนอของนายบ๊อบ ฮอว์ก นายกรัฐมนตรีของออสเตรเลียขณะนั้น ที่กรุงแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย เอเปกมีสมาชิก 21 ประเทศ จัดเป็นเวทีของการปรึกษาหารือเกี่ยวกับประเด็นทางเศรษฐกิจ โดยมิได้มีกฎระเบียบหรือข้อผูกมัดให้ประเทศสมาชิกปฏิบัติตาม การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ มาจากความเห็นเป็นเอกฉันท์ของประเทศสมาชิก

        4.  องค์การการค้าโลก (WTO) คือ องค์การระหว่างประเทศระดับระหว่างรัฐที่พัฒนามาจาก “ความตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้า” หรือแกตต์ (GATT) วัตถุประสงค์ขององค์การการค้าโลกคือ เจรจาการค้าเพื่อนำไปสู่การเปิดเสรีการค้าระหว่างประเทศอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามความพร้อมของประเทศสมาชิก มีการเจรจาเพื่อพัฒนาและสร้างหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงการค้าโลก

        5.  สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน (ASEAN) ตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ.1967 โดยมีสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศคือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย ต่อมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1984 ก็มีสมาชิกเพิ่มมากขึ้น คือ บรูไน เวียดนาม ลาวและพม่า จนในปี ค.ศ.1999 กัมพูชาได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกเป็นประเทศล่าสุด ปัจจุบันอาเซียนมีสมาชิกรวม 10 ประเทศ นอกจากนี้ยังมีประเทศคู่เจรจาอีก 10 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา จีน สหภาพยุโรป อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์ รัสเซียและสหรัฐอเมริกา

       แถลงการณ์อาเซียนหรือปฏิญญาอาเซียนได้ระบุวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งองค์การนี้ขึ้นมาเพื่อ
       1. เร่งพัฒนาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรมในภูมิภาคโดยตั้งอยู่บนความร่วมมือที่เท่าเทียมกัน
       2. เผยแพร่สันติภาพและเสถียรภาพโดยการเคารพหลักความยุติธรรมและกฎหมาย รวมทั้งการยอมรับหลักการของกฎบัตรสหประชาชาติ
       3. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ได้แก่ เศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์และการบริหาร เช่น การประกวดนักเขียนรางวัลซีไรต์ การรักษามรดกทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ การแลกเปลี่ยนการแสดงดนตรีและนาฏศิลป์ และความร่วมมือทางการศึกษา
            นอกจากนี้กลุ่มอาเซียนยังได้ผนึกกำลังทางเศรษฐกิจให้เป็นอันหนึ่งอันเดียว โดยการจัดตั้งเป็น เขตการค้าเสรีอาเซียนหรือแอฟตา (ASEAN Free Trade Area: AFTA) ซึ่งมีผลในทางปฏิบัติใน 6 ประเทศสมาชิกเดิม คือ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และบรูไน

        1.  กีฬาโอลิมปิกป็นการจัดแข่งขันกีฬาที่เก่าที่สุดในโลก ถือกำเนิดขึ้นมาก่อนหน้าคริสตกาลกว่า 1,000 ปี การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกได้ดำเนินการกันบนยอดเขา “โอลิมปัส” ในประเทศกรีซ การแข่งขันได้ดำเนินติดต่อกันมานับเป็นเวลาถึง 1,200 ปี การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ครั้งแรกถูกจัดขึ้นที่สนามหินอ่อนในกรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั่วโลก 197 ประเทศ โดยมีคณะกรรมการโอลิมปิกสากลเป็นผู้บริหารงาน ซึ่งมีสำนักงานใหญ่ที่กรุงโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

        2.  ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด กำเนิดมาจากการประชุมของกลุ่มประเทศแอโฟร-เอเชีย ที่กรุงบันดุง ประเทศอินโดนีเซีย ค.ศ.1955 จากนั้นขบวนการนี้ก็ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ต่อจากนั้นประธานาธิบดีตีโต้ แห่งยูโกสลาเวีย ซึ่งเป็นผู้นำประเทศคอมมิวนิสต์แนวชาตินิยมได้จัดการประชุมขึ้นที่กรุงเบลเกรด ในเดือนกันยายน ค.ศ.1961 มีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมประชุม 25 ประเทศ ในที่ประชุมได้ตกลงให้มีความเป็นกลาง ในการดำเนินนโยบายต่างประเทศเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบจากการเข้าร่วมกับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง คือ ความขัดแย้งระหว่างค่ายโลกเสรีนำโดยสหรัฐอเมริกากับฝ่ายคอมมิวนิสต์นำโดยสหภาพโซเวียต ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดมีการประชุมหลายครั้ง ห่างกันคราวละ 3 ปี แต่ภารกิจมิได้เป็นไปตามเจตจำนงเมื่อแรกก่อตั้งเพราะปัญหาตะวันออก-ตะวันตกยังคงเป็นประเด็นการถกเถียง ในที่สุดขบวนการนี้ก็ลดบทบาทลงไปทีละน้อยจนหมดบทบาทเมื่อเกิดการล่มสลายของกลุ่มประเทศสังคมนิยม