อารยธรรมของโลกยุคโบราณ
ความเจริญของมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมอียิปต์
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมกรีก
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมโรมัน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันออก: อารยธรรมอินเดีย
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันออก: อารยธรรมจีน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การติดต่อระหว่างโลกตะวันออกและโลกตะวันตก
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
พัฒนาการของมนุษยชาติในสมัยกลางสู่ยุคแห่งการปฏิวัติ การปฏิรูป และยุคแห่งความสว่างไสวทางปัญญา
ระบบฟิวดัลหรือระบบศักดินาสวามิภักดิ์ (Feudalism)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามครูเสด (Crusade War)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ (Renaissance)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ยุคแห่งการสำรวจทางทะเล (Age of Exploration)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ยุคแห่งความสว่างไสวทางปัญญา (Age of Enlightenment)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
พัฒนาการของโลกในสมัยจักรวรรดินิยมถึงปัจจุบัน
พัฒนาการของรัฐชาติในยุโรป
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ยุคจักรวรรดินิยม
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามโลกครั้งที่ 1
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามโลกครั้งที่ 2
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามเย็น
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ปัญหาตะวันออกกลาง
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความขัดแย้งของมนุษยชาติ
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความร่วมมือของมนุษยชาติ
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ถึงปัจจุบัน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution) (ชุดที่ 1)

HARD

การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution) (ชุดที่ 2)

news

การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)

เนื้อหา

การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)

         การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์เริ่มปรากฏในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 และขยายตัวมากขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 โดยเกิดขึ้นในบริเวณคาบสมุทรอิตาลีก่อน เนื่องจากดินแดนอิตาลีเป็นด่านแรกของการติดต่อรับอารยธรรมและความเจริญทั้งหลายที่แพร่มาจากตะวันออก จากนั้นได้แพร่เข้าไปยังดินแดนอื่น ๆ ทั่วยุโรป ลักษณะสำคัญของการปฏิวัติวิทยาศาสตร์อยู่ที่การเข้าถึงความรู้ การศึกษาข้อเท็จจริงต่างๆ การสังเกต การตรวจสอบ การทดลองอย่างมีเหตุผล


สาเหตุของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์

     ผลจากการสำรวจทางทะเล การปฏิวัติทางการค้า และการบุกเบิกดินแดนโพ้นทะเล ในคริสต์ศตวรรษที่ 13-16 ทำให้มนุษย์ศึกษาและเรียนรู้ปรากฏการณ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

        ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ บรรดาศิลปินต่าง ๆ ใช้ลักษณะทางกายภาพมนุษย์มาสร้างสรรค์งานศิลปกรรม เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม เพื่อให้มีความงดงามตามแบบมนุษย์ที่แท้จริง นอกจากนี้ยุโรปยังสนใจเรียนรู้อารยธรรมกรีก โรมัน และอารยธรรมตะวันออก
        ในสมัยการสำรวจทางทะเล ชาวยุโรปได้คิดประดิษฐ์เครื่องมือต่าง ๆ เช่น การพัฒนาการต่อเรือเดินสมุทรขนาดใหญ่ กล้องดูดาว กล้องส่องทางไกล เข็มทิศ และแผนที่ ช่วยทำให้เกิดการศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ขึ้น


    การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโลกและสังคมมนุษย์โดยใช้ทฤษฏีความรู้       

    เมื่อสังคมมนุษย์มีความก้าวหน้าทางวิทยาการด้านต่างๆ ทำให้เกิดการประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์ ความรู้แตกออกเป็นหลายสาขาและมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น

      ผลจากการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ทำให้มนุษย์มั่นใจในความสามารถของตนเอง จึงนำไปสู่การปฏิวัติภูมิปัญญาอันเป็นพื้นฐานสำคัญของความเชื่อมั่น ความศรัทธาต่อเหตุผลในยุคแห่งความสว่างไสวทางปัญญา (Age of Enlightenment) ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และช่วยทำให้ชาวตะวันตกเป็นคนช่างสงสัย และกล้าตั้งคำถาม ไม่งมงาย และชอบการค้นคว้าทดลองและวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ

ผลงานของนักวิทยาศาสตร์ในการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์


        การพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์ในระยะแรกเป็นการสืบค้นความรู้ใหม่ ๆ เพื่อล้มล้างกฎเกณฑ์เก่า ๆ ภายใต้กรอบความคิดของคริสต์ศาสนา จึงค้นพบความรู้ทางด้านดาราศาสตร์และจักรวาล ต่อมาจึงมีการค้นพบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับธรรมชาติและการประดิษฐ์เครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ บรรดานักวิทยาศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 มีหลายคน เช่น

นิโคลัส โคเพอร์นิคัส (Nicolas Copernicus) นักดาราศาสตร์ชาวโปแลนด์ ได้สังเกตท้องฟ้าเป็นเวลายาวนานนำเสนอทฤษฏีระบบสุริยจักรวาล “ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง” และปฏิเสธทฤษฏี “โลกเป็นศูนย์กลาง” เป็นการล้มล้างคำสั่งสอนของคริสต์ศาสนาในสมัยกลาง


ภาพที่ 1  นิโคลัส โคเพอร์นิคัส

ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Nicolaus_Copernicus#/media/File:Nikolaus_Kopernikus.jpg
กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei) นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี ได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหและความรู้เกี่ยวกับระบบจักรวาล


ภาพที่ 2  กาลิเลโอ กาลิเลอี
ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Galileo_Galilei#/media/File:Justus_Sustermans_-_Portrait_of_Galileo_Galilei,_1636.jpg
โยฮันเนส เคปเลอร์ (Johanes Kepler) นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันได้พิสูจน์ทฤษฏีของนิโคลัส โคเพอร์นิคัสและยืนยันข้อมูลเช่นเดียวกันว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล


ภาพที่ 3  โยฮันเนส เคปเลอร์

ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Johannes_Kepler#/media/File:Johannes_Kepler_1610.jpg
เซอร์ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้เสนอแนะการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องคือ การตั้งสมมติฐาน การพิสูจน์และการสรุปอย่างมีระบบ


ภาพที่ 4  เซอร์ฟรานซิส เบคอน
ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Francis_Bacon#/media/File:Somer_Francis_Bacon.jpg
เรอเน เดการ์ต (René Descartes) นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ศึกษาวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งเรขาคณิตวิเคราะห์สมัยใหม่


ภาพที่ 5  เรอเน เดการ์ต 

ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Ren%C3%A9_Descartes#/media/File:Frans_Hals_-_Portret_van_Ren%C3%A9_Descartes.jpg
เซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) ผู้ค้นพบกฎแห่งแรงโน้มถ่วง และเป็นคนแรกที่สามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของโลก ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์และดวงอาทิตย์ได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์


ภาพที่ 6  เซอร์ไอแซค นิวตัน
ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Isaac_Newton#/media/File:GodfreyKneller-IsaacNewton-1689.jpg
เบนจามิน แฟรงกลิน (Benijamin Franklin) ค้นพบการเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และฟ้าผ่า ผู้ประดิษฐ์สายล่อฟ้านำไฟฟ้าจากก้อนเมฆมาใช้ประโยชน์


ภาพที่ 7  เบนจามิน แฟรงคลิน

ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/File:Benjamin_Franklin_by_Joseph_Duplessis_1778.jpg

        ผลของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ทำให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการสมัยใหม่ กระตุ้นให้เกิดการประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์ มีการจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติขึ้นทั้งในอังกฤษ ฝรั่งเศส และในดินแดนเยอรมนี เพื่อสนับสนุนงานวิจัยการประดิษฐ์เครื่องมือ เครื่องใช้ และการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน ทำให้วิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

        ผลจากความสำเร็จทางด้านวิทยาศาสตร์ทำให้มนุษย์เชื่อมั่นในตนเองและพัฒนาเทคนิคและวิทยาการต่าง ๆ นำไปสู่การใช้เครื่องจักรกล อันเป็นรากฐานที่สำคัญของความคิดในยุคความสว่างไสวทางปัญญาและการปฏิวัติอุตสาหกรรมในเวลาต่อมา


ผลกระทบของการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ที่สำคัญ

        การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ทำให้ความรู้ของมนุษยชาติแตกแยกออกไปหลายสาขา โดยนำความรู้มาใช้ในวิทยาการด้านต่าง ๆ และมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกหลายด้าน

  • ทำให้โลกก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
  • ทำให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม การปฏิวัติทางความคิดเกิดยุคสมัยแห่งการใช้เหตุผล
    และยุคแห่งการสว่างไสวทางปัญญา ซึ่งมีผลต่อแนวคิดทางด้านการเมืองการปกครองของโลกปัจจุบัน