รีดอกซ์-เซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิกิริยารีดอกซ์และเลขออกซิเดชัน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันของปฏิกิริยารีดอกซ์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การดุลสมการรีดอกซ์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
เซลล์เคมีไฟฟ้า
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
คำนวณค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
เซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิ
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์เคมีไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

ความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

ความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์

MEDIUM

ความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์

HARD

ความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์

เนื้อหา

ปฏิกิริยารีดอกซ์

ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox reaction) หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนจากสารหนึ่งไปยังอีกสารหนึ่ง หรือหมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการให้ และรับอิเล็กตรอน

เช่น

เมื่อจุ่มโลหะสังกะสีลงในสารละลาย คอปเปอร์(II)ซัลเฟต เกิดปฏิกิริยาที่มีการให้ และรับอิเล็กตรอน

ดังนี้

การถ่ายโอนอิเล็กตรอนของสังกะสีกับไอออนของโลหะทองแดง

โดยปฏิกิริยารีดอกซ์ ประกอบด้วย ครึ่งปฏิกิริยา (half-reaction) สองประเภท คือ

1. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation reaction)

คือ ปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอน โดยสารที่ทำหน้าที่เป็นตัวให้อิเล็กตรอน เรียกว่า ตัวรีดิวซ์ (reducing agent) ซึ่งเมื่อเกิดปฏิกิริยาจะมีค่าออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการสูญเสียอิเล็กตรอนไป

เช่น

การเปลี่ยนจาก Fe2+ เป็น Fe3+ มีการเปลี่ยนแปลงค่าออกซิเดชันเพิ่มขึ้นจาก +2 เป็น +3 ตามลำดับ                           
Fe2+(aq)  ⇋   Fe3+(aq) + e-

2. ปฏิกิริยารีดักชัน (reduction reaction)

คือ ปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน โดยสารที่ทำหน้าที่เป็นตัวรับอิเล็กตรอน เรียกว่า ตัวออกซิไดซ์ (oxidizing agent) ซึ่งเมื่อเกิดปฏิกิริยาจะมีเลขออกซิเดชันลดลง เนื่องจากมีการรับอิเล็กตรอนเข้ามา

เช่น

การเปลี่ยนจาก Ag+ เป็น Ag0 มีการเปลี่ยนแปลงค่าออกซิเดชันลดลงจาก +1 เป็น 0 ตามลำดับ                       
Ag+(aq) + e-   ⇋     Ag(s)

ตัวออกซิไดซ์และตัวรีดิวซ์

ตัวออกซิไดซ์ (Oxidizer or Oxidizing agent or Oxidant) คือ สารที่ทำหน้าที่รับอิเล็กตรอนจากสารอื่น (ตัวรีดิวซ์)

ดังนั้น ตัวออกซิไดซ์จึงมีเลขออกซิเดชันลดลง (เกิดรีดักชันหรือถูกรีดิวซ์)

ตัวรีดิวซ์ (Reducer or Reducing agent or Reductant) คือ สารที่ทำหน้าที่ให้อิเล็กตรอนแก่สารอื่น (ตัวออกซิไดซ์)

ดังนั้น ตัวรีดิวซ์จึงมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น (เกิดออกซิเดชันหรือถูกออกซิไดซ์)

***ข้อควรสังเกต***

  1. ความสามารถในการให้อิเล็กตรอนของโลหะต่างชนิดกันไม่เท่ากัน เช่น Zn ให้อิเล็กตรอนได้ง่ายกว่า Cu
  2. ความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของไอออนของโลหะต่างชนิดกันจะไม่เท่ากันเช่น Ag+ รับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า Cu2+
  3. ความสามารถในการให้และรับอิเล็กตรอนของสารเป็นสมบัติเฉพาะของสารนั้น
  4. โลหะใดให้อิเล็กตรอนได้ง่าย ไอออนของโลหะนั้นจะรับอิเล็กตรอนยาก และโลหะใดให้อิเล็กตรอนยาก ไอออนของโลหะนั้นจะรับอิเล็กตรอนได้ง่าย เช่น Cu2+ รับอิเล็กตรอนง่ายกว่า Zn2+ ในทางตรงข้าม Cu จะให้อิเล็กตรอนยากกว่า Zn
  5. การรับอิเล็กตรอน ถ้าเป็นโลหะจะอยู่ในรูปไอออนบวกของโลหะ หรือถ้าเป็นอโลหะจะอยู่ในรูปธาตุอิสระ
  6. จากตารางธาตุที่ให้อิเล็กตรอนได้ง่ายจะมีศักย์ไฟฟ้าต่ำส่วนไอออนของโลหะที่รับอิเล็กตรอนได้ง่ายจะมีศักย์ไฟฟ้าสูง

ตัวอย่างที่ 1

ตัวอย่างที่ 2

ปฏิกิริยานี้ตัวออกซิไดซ์ คือ KMnO4 ไม่ใช่ Mn และ ตัวรีดิวซ์ คือ FeSO4 ไม่ใช่ Fe