อารยธรรมของโลกยุคโบราณ
ความเจริญของมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมอียิปต์
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมกรีก
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันตก: อารยธรรมโรมัน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันออก: อารยธรรมอินเดีย
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
อารยธรรมโลกตะวันออก: อารยธรรมจีน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การติดต่อระหว่างโลกตะวันออกและโลกตะวันตก
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
พัฒนาการของมนุษยชาติในสมัยกลางสู่ยุคแห่งการปฏิวัติ การปฏิรูป และยุคแห่งความสว่างไสวทางปัญญา
ระบบฟิวดัลหรือระบบศักดินาสวามิภักดิ์ (Feudalism)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามครูเสด (Crusade War)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ (Renaissance)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ยุคแห่งการสำรวจทางทะเล (Age of Exploration)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
การปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ยุคแห่งความสว่างไสวทางปัญญา (Age of Enlightenment)
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
พัฒนาการของโลกในสมัยจักรวรรดินิยมถึงปัจจุบัน
พัฒนาการของรัฐชาติในยุโรป
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ยุคจักรวรรดินิยม
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามโลกครั้งที่ 1
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามโลกครั้งที่ 2
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สงครามเย็น
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ปัญหาตะวันออกกลาง
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความขัดแย้งของมนุษยชาติ
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ความร่วมมือของมนุษยชาติ
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
67%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
น้อย
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ถึงปัจจุบัน
RELIGION
ออกสอบ
น้อย
กฎหมาย
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation) (ชุดที่ 1)

HARD

การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation) (ชุดที่ 2)

news

การปฏิรูปศาสนา (Religious Reformation)

เนื้อหา

การปฏิรูปศาสนา
(Religious Reformation)

         ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ได้เป็นกระแสการต่อต้านศาสนจักรโรมันคาทอลิกทำให้มีการโจมตีศาสนจักรส่งผลให้เกิดการปฏิรูปศาสนาในยุโรป


สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา


        สาเหตุที่สำคัญที่สุดทำให้เกิดการแปรรูปศาสนาเป็นผลมาจากการฟื้นฟูศิลปวิทยาการในศตวรรษที่ 15 และความเสื่อมศรัทธาในความประพฤติของบาทหลวงกับหมกหมุ่นในโลกียสุข มีความเป็นอยู่หรูหรา ฟุ่มเฟือยไม่ได้สนใจหน้าที่ของตน โดยเฉพาะพระสันตะปาปาและพระชั้นสูงบางรูปที่มีความเป็นอยู่ร่ำรวยจากการขายใบไถ่บาปหรือการขายพระเมตตา การขายตำแหน่งหน้าที่ทางศาสนาและการแต่งตั้งญาติพี่น้องเข้าดำรงตำแหน่งทางศาสนา การที่ศาสนาเก็บภาษี ร้อยชักสิบ ทำให้ชนชั้นกษัตริย์และพ่อค้าไม่พอใจ รวมถึงพวกปัญญาชนก็เสื่อมศรัทธาเช่นกัน

        ใน ค.ศ. 1517 มาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther) บาทหลวงชาวเยอรมันและเป็นผู้สอนเทววิทยาสายคัมภีร์ ไม่พอใจการกระทำของศาสนจักร และการขายใบไถ่บาปจึงเขียนจดหมายประท้วงเรียกว่า "ข้อโต้แย้ง 95 ข้อ" (95 Theses)  โดยติดคำประท้วงดังกล่าวไว้หน้ามหาวิหารแห่งเมืองวิทเทนแบร์ก (Wittenberg) ซึ่งเสนอแนวคิดให้ปฏิรูปศาสนจักรโรมันคาทอลิก โดยเน้นเรื่องการมีศรัทธายึดมั่นตามคำสั่งสอนของพระเป็นเจ้าอย่างแท้จริง และแก้ไขข้อปฏิบัติของศาสนจักรโรมันคาทอลิก คำประท้วงนี้ได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวาง ขณะเดียวกันการกระทำของลูเทอร์ ทำให้คริตสจักรลงโทษด้วยการประกาศขับไล่ออกจากศาสนา แต่เจ้าผู้ครองแคว้นในเยอรมนีตอนเหนือได้ให้ความอุปถัมภ์ลูเธอร์ไว้


ภาพที่ 1  มาร์ติน ลูเธอร์ ผู้ก่อตั้งนิกายโปรแตสแตนท์
ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Martin_Luther#/media/File:Martin_Luther_by_Cranach-restoration.jpg 


ภาพที่ 2  ข้อโต้แย้ง 95 ข้อ ของมาร์ติน ลูเธอร์

ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Reformation#/media/File:Luther_95_Thesen.png
        มาร์ติน ลูเธอร์ เป็นผู้ก่อตั้งคริสต์ศาสนาใหม่คือนิกายโปรเตสแตนท์ โดยเน้นการนับถือศาสนาด้วยการมีศรัทธาต่อพระเป็นเจ้าโดยตรง

หลักการสำคัญได้แก่

  1. อำนาจของพระสันตะปาปาไม่ใช่ผู้แทนของพระเป็นเจ้าแต่เป็นมนุษย์ธรรมดา

  2. มนุษย์ชาติรอดพ้นจากบัตรได้ด้วยการมีศรัทธาต่อพระเป็นเจ้าหรือต่อพระเยซูคริสต์เท่านั้น

  3. บาทหลวงเป็นเพียงผู้ปฏิบัติงานของพระเยซูคริสต์

  4. การปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนาจะถูกลดให้เหลือแต่การอ่านพระคัมภีร์ไบเบิ้ล การแสดงความคิดเห็นและขับร้องบทสวดมนต์ร่วมกัน

        นิกายลูเทอร์ได้แพร่หลายออกไปทั่วยุโรปในสวิตเซอร์แลนด์ มีการปฏิรูปศาสนาเช่นกันโดยจอห์น คาลแวง (John Calvin) นักบวชชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ที่นำความคิดเรื่องโปรเตสแตนต์ไปเผยแพร่ ได้ก่อตั้งนิกายกัลแวงหรือนิกายแคลวินหรือคาลแวง (Calvinism) และเขียนหนังสือเรื่องสถาบันคริตต์ศาสนาเป็นภาษาฝรั่งเศส มีหลักการสำคัญคือ คริสต์ศาสนิกชนต้องศึกษาศาสนาโดยตรงจากคัมภีร์ดั้งเดิมแทนที่จะศึกษา พระคัมภีร์จากคำสั่งของศาสนจักร โดยนิกายแคลวินได้แพร่หลายในสวิตเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส และสกอตแลนด์


ภาพที่ 3  จอห์น คาลแวง ผู้ก่อตั้งนิกายคาลแวง
ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/John_Calvin#/media/File:John_Calvin_Museum_Catharijneconvent_RMCC_s84_cropped.png
        ขณะเดียวกันในอังกฤษ พระเจ้าเฮนรี่ที่ 8 กษัตริย์อังกฤษ ได้ทรงขัดแย้งกับพระสันตะปาปาจึงประกาศแยกตัวเป็นอิสระจากกรุงโรม โดยรัฐสภาอังกฤษออกกฎหมายให้กษัตริย์อังกฤษ เป็นประมุขคริสตจักรในอังกฤษและแต่งตั้ง อาร์คบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี่ (Archbishop of Canterbury) ขึ้นใหม่ใน ค.ศ. 1563 และกษัตริย์อังกฤษได้ประกาศแต่งตั้งนิกายอังกฤษหรือนิกายแองกลิกัน (Angglican Church)


ภาพที่ 4  พระเจ้าเฮนรี่ที่ 8 แห่งอังกฤษ ผู้ก่อตั้งนิกายอังกลิคัน

ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Henry_VIII_of_England

        นอกจากนี้การปฏิรูปศาสนายังทำให้เกิดสงครามกลางเมืองระหว่างรัฐต่าง ๆ ขึ้นในเวลาต่อมา เนื่องจากความแตกต่างระหว่างนิกายทางศาสนา และผู้มีอำนาจในรัฐนั้น ๆ มีความพยายามที่จะให้ประชาชนทั้งประเทศนับถือศาสนาเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น สงคราม 30 ปี (30 Years War)


ภาพที่ 5  ภาพวาดตัวอย่างความขัดแย้งระหว่าง 2 นิกาย ในช่วงสงคราม 30 ปี
ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Thirty_Years%27_War

         จนเมื่อสิ้นศตวรรษที่ 17 จึงได้มีการประกาศยุติปัญหาความแตกแยกของคริสตจักร คือ การประกาศให้ประชาชนนับถือศาสนาคริสต์ต่างนิกายได้


 การปฏิรูปศาสนาของศาสนจักร

         เมื่อเกิดการปฏิรูปศาสนาในดินแดนต่าง ๆ นักบวชผู้ศรัทธาในคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก ได้รวมกันปฏิรูปศาสนาของศาสนจักร เรียกว่าการปฏิรูปซ้อน (The Couter Reformation) เพื่อทำให้นิกายโรมันคาทอลิกบริสุทธิ์ กลุ่มที่มีบทบาทสำคัญคือ "คณะเยซูอิต" (Jesuit) ได้ปรับปรุงระเบียบวินัยของพระสงฆ์ให้เคร่งครัดมากขึ้น มีการตั้งโรงเรียนสอนศาสนาและแผยแพร่ศาสนาไปยังดินแดนต่าง ๆ การปฏิรูปศาสนาของคณะเยซูอิต ทำให้นิกายโรมันคาทอลิกเป็นที่ยอมรับมากขึ้น 

        ศาสนจักรได้จัดการประชุมสังคายนาแห่งเทรนต์ (Council of Trent) เพื่อกำหนดระเบียบวินัยในคริสตจักร การปรับปรุงการบริหารงานภายในให้มีประสิทธิภาพ ยกเลิกการขายใบไถ่บาปและใช้ภาษาพื้นเมืองในการสอนศาสนา 


ผลกระทบของการปฏิรูปศาสนาที่สำคัญ


        ผลของการปฏิรูปศาสนาทำให้คริสตจักรแบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือ

  • นิกายโรมันคาทอลิกมีศูนย์กลางที่กรุงโรม มีสันตะปาปาเป็นประมุข
  • นิกายโปรเตสแตนท์ ได้แยกย่อยออกเป็นนิกายย่อยต่าง ๆ
  • นอกจากนี้ยังกระตุ้นให้เกิดการศึกษาหลักธรรมทางคริสต์ศาสนาในหมู่สามัญชนมากขึ้นและมีการเผยแผ่คริสต์ศาสนาไปยังดินแดนต่าง ๆ