เคมีอินทรีย์
สารประกอบอินทรีย์ที่มีพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสามในชีวิตประจำวัน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สูตรโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
วิเคราะห์โครงสร้าง และระบุประเภทของสารประกอบอินทรีย์จากหมู่ฟังก์ชัน
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สูตรโครงสร้างและเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ตามระบบ IUPAC
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
100%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
วิเคราะห์ และเปรียบเทียบสมบัติของสารประกอบอินทรีย์
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ปฏิกิริยาของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (1)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
33%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
ปฏิกิริยาของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (2)
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
น้อย
วิชาสามัญ
ออกสอบ
33%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย
สืบค้นข้อมูลการนำสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันและอุตสาหกรรม
PAT
ออกสอบ
น้อย
O-NET
ออกสอบ
100%
วิชาสามัญ
ออกสอบ
67%
A-LEVEL
ออกสอบ
น้อย

วิเคราะห์ และเปรียบเทียบสมบัติของสารประกอบอินทรีย์

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

วิเคราะห์ และเปรียบเทียบสมบัติของสารประกอบอินทรีย์

MEDIUM

วิเคราะห์ และเปรียบเทียบสมบัติของสารประกอบอินทรีย์

HARD

วิเคราะห์ และเปรียบเทียบสมบัติของสารประกอบอินทรีย์

เนื้อหา

วิเคราะห์ และเปรียบเทียบสมบัติของสารประกอบอินทรีย์

สารอินทรีย์ คือ สารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ

ยกเว้น

  1. ธาตุคาร์บอนช่น เพชร แกรไฟต์ ฟลูเลอรีน เป็นต้น
  2. สารประกอบโลหะคาร์ไบด์ (Metal carbide) เช่น CaC2 MgC2 เป็นต้น
  3. สารประกอบออกไซด์ของคาร์บอน เช่น CO CO2 เป็นต้น
  4. สารประกอบกรดคาร์บอนิกและเกลือ (carbonic acid, bicarbonate salt, carbonate salt) เช่น H2CO3 NaHCO3 CaCO3 เป็นต้น
  5. สารประกอบเกลือ cyanide, cyanate และ thiocyanate เช่น KCN, NaOCN, NH4SCN เป็นต้น

การแบ่งประเภทของสารประกอบอินทรีย์

นอกจากจะแบ่งตามชนิดของหมู่ฟังก์ชันแล้ว อาจแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ตามชนิดของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ

ดังนี้

  1. สารประกอบอินทรีย์ทีมี C และ H เป็นองค์ประกอบ เรียกว่า สารประกอบไฮโดรคาร์บอน เช่น แอลเคน แอลคีน แอลไคน์ และอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
  2. สารประกอบอินทร์ที่มี O เป็นองค์ประกอบ เช่น แอลกอฮอล์ ฟีนอล อีเทอร์ อัลดีไฮด์ คีโตน กรดคาร์บอกซิลิก และเอสเทอร์
  3. สารประกอบอินทรีย์ที่มี N เป็นองค์ประกอบ เช่น เอมีน
  4. สารประกอบอินทรีย์ที่มี O และ N เป็นองค์ประกอบ เช่น เอไมด์

สารประกอบแต่ละกลุ่มเหล่านี้จะมีสมบัติเฉพาะตัวเหมือนหรือแตกต่างกันมาศึกษากัน

จุดหลอมเหลวและจุดเดือด

จากตาราง เมื่อพิจารณาพบว่า จุดหลอมเหลวและจุดเดือดนั้น จะเพิ่มขึ้นตามจำนวนของคาร์บอนอะตอมที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากเมื่ออะตอมของคาร์บอนที่เพิ่มขึ้น มวลโมเลกุลก็จะเพิ่มขึ้น ทำให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเพิ่มขึ้นด้วย ในกรณีที่จำนวนของคาร์บอนเท่ากัน เช่น สารประกอบแอลเคนที่มีโซ่กิ่งจะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ำกว่าโซ่ตรง เนื่องจากมีแรงยึดเหนี่ยวน้อยกว่า

การเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพของสารประกอบอินทรีย์

สมบัติทางกายภาพโดยทั่วไป หมายถึง สถานะ จุดเดือด จุดหลอมเหลว และความสามารถในการละลาย เป็นต้น ซึ่งสมบัติต่างๆ ดังกล่าว ล้วนเป็นผลมาจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลทั้งสิ้น

ดังนั้น สารประกอบ-อินทรีย์จึงสามารถแบ่งเป็น 3 ประเภท ตามแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล และเรียงลำดับจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลจากมากไปน้อยของโมเลกุลที่มีขนาดเท่าๆ กัน ได้ดังต่อไปนี้

  1. กลุ่มที่สามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลได้ : amide > carboxylic > alcohol > amine เพราะ มีตำแหน่งในการเกิดพันธะไฮโดรเจนได้มากกว่า
  2. กลุ่มที่เป็นโมเลกุลมีขั้วสูงเกิดแรงระหว่างขั้วยึดเหนี่ยวกัน : ketone > aldehyde > ester > ether เพราะ ความเป็นขั้วที่ต่างกันโดยลดลงตามลำดับ
  3. กลุ่มที่มีขั้วต่ำหรือไม่มีขั้วยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงลอนดอน : alkyne > alkane > alkene เพราะ มีรูปร่างที่แตกต่างกันทำให้พื้นที่ผิวที่ยึดติดกันมีไม่เท่ากัน

ความสามารถในการละลายน้ำ สารในกลุ่มที่ 1 และ 2 สามารถละลายน้ำได้ดี เมื่อโมเลกุลมขนาดเล็ก และความสามารถในการละลายน้ำจะค่อยๆ ลดลงไป เมื่อขนาดของโมเลกุลใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ส่วนโมเลกุลที่มีกิ่งจะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลต่ำกว่าโมเลกุลที่เป็นเส้นตรง เพราะการอัดตัวกันเป็นไปได้ยากกว่า จึงเป็นผลทำให้โมเลกุลที่มีกิ่งมากละลายน้ำได้ง่ายขึ้น และมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำลง แสดงว่า สมบัติของสารประกอบอินทรีย์ขึ้นอยู่กับโครงสร้างของโมเลกุล