กฎรวมแก๊ส
กฎต่างๆของแก๊สอุดมคติมีดังนี้
กฎของบอยล์ :
(ที่ปริมาณโมล n และอุณหภูมิ T คงที่)กฎของชาร์ล :
(ที่ปริมาณโมล n และความดัน P คงที่)กฎของอะโวกาโดร :
(ที่ความดัน P และอุณหภูมิ T คงที่)ซึ่งสามารถเขียนรวมในรูปสมการใหม่เพียงสมการเดียวได้ว่า
หรือ PV = nRT เมื่อ R เป็นค่าคงที่ของแก๊ส ----- (27.1)สมการ 27.1 เรียกว่า สมการของแก๊สอุดมคติ หรือ กฎรวมแก๊ส ค่าคงที่ของแก๊ส R มีค่าหลายค่าขึ้นกับหน่วยที่ใช้
โดยปกติที่นิยมใช้ได้แก่
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง 1 ที่สภาวะมาตรฐาน (STP) ที่อุณหภูมิ 0oC ความดัน 1 atm แก๊สอุดมคติ 1 โมล จะมีปริมาตรเท่ากับเท่าไรวิธีคิด เนื่องจากหน่วยของความดันเป็น atm ดังนั้นควรใช้ R ที่มีหน่วยของความดันเหมือนกัน
ตัวอย่าง 2 ที่สภาวะมาตรฐาน (STP) ที่อุณหภูมิ 0oC ความดัน 1 atm แก๊สไนโตรเจน 8.515 g จะมีปริมาตรเท่ากับเท่าไรวิธีคิดแบบที่ 1 แก๊สไนโตรเจน 8.515 กรัม มีจำนวนโมลเท่ากับ
วิธีคิดแบบที่ 2 จากข้อมูลที่ทราบว่าแก๊สอุดมคติจะมีปริมาตร 22.415 L ที่สภาวะมาตรฐาน STP เสมอ ดังนั้น
ตัวอย่าง 3 เมื่อเปิดวาล์วแก๊สไฮโดรเจนขยายตัวกระจายไปยังภาชนะสุญญากาศที่เชื่อมต่อ ถ้าไม่คิดปริมาตรจากท่อเชื่อมต่อและอุณหภูมิแก๊สหลังขยายตัวเท่ากับ 400K อยากทราบว่าแก๊สไฮโดรเจนจะมีความดันสุดท้ายเท่าไรตัวอย่าง 4 เมื่อเปิดวาล์วแก๊สฮีเลียมทั้งสองภาชนะจะผสมกัน ถ้าอุณหภูมิเริ่มต้นของแก๊ส He ทั้งสองภาชนะเท่ากันและไม่เปลี่ยนแปลงหลังผสม อยากทราบว่าความดันหลังจากเปิดวาล์วมีค่าเท่าไรเนื่องจาก T1 = T2 ดังนั้นสมการจึงเป็น P1V1 = P2V2 ซึ่งจะใช้หาความดันแก๊ส He ที่ละภาชนะที่เปลี่ยนไปเมื่อปริมาตรเปลี่ยนเป็นปริมาตรรวม 2+6.5 = 8.5 L แล้วนำมารวมกันดังนี้
ดังนั้น ความดันสุดท้ายของแก๊ส He หลังเปิดวาล์วจะเท่ากับความดันอันเนื่องมาจาก He ทั้งสองภาชนะ
เท่ากับ 0.706 + 0.382 = 1.088 atm
ตัวอย่าง 5 ฟองอากาศปริมาตร 0.5 mL มีอุณหภูมิของอากาศ 4°C และความดัน 2000 mmHg ลอยจากใต้แม่น้ำขึ้นสู่ผิวน้ำทำให้อุณหภูมิและความดันเปลี่ยนเป็น 25°C และ 755 mmHg อยากทราบว่าปริมาตรฟองอากาศเท่ากับเท่าไรตัวอย่าง 6 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มีความเข้มข้นเท่ากับ 0.4 โมลาร์ ที่มีอุณหภูมิ 27°C จะมีความดันเท่ากับเท่าไรวิธีคิด จาก PV = nRT