การบวกเวกเตอร์ สามารถหาผลลัพธ์ ได้ดังนี้
1) วิธีหัวต่อหาง ให้นำเวกเตอร์มาเขียนต่อกัน โดยเอาหางลูกศรใหม่มาวางต่อที่หัวของลูกศรเดิม
ผลลัพธ์ที่ได้ คือ เวกเตอร์ที่ลากจากหางของเวกเตอร์แรกไปยังหัวของเวกเตอร์สุดท้าย
ตัวอย่าง กำหนดเวกเตอร์ ดังรูป
จะเขียนรูป เพื่อหาผลบวกและ
โดยวิธีหางต่อหัว ได้ดังนี้
2) วิธีหางต่อหาง ให้นำหางของเวกเตอร์มาชนกัน แล้วลากเส้นประเพื่อสร้างให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน เส้นทแยงมุมของของสี่เหลี่ยมด้านขนานที่ได้ คือ ผลบวกของ และ
ซึ่งวิธีการนี้อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
“ วิธีสร้างรูปปิดของสี่เหลี่ยมด้านขนาน ”
ตัวอย่าง กำหนดเวกเตอร์ ดังรูป
จะเขียนรูป เพื่อหาผลบวกโดยวิธีหางต่อหาง ได้ดังนี้
1) สมบัติปิด (เวกเตอร์บวกกัน ผลลัพธ์ที่ได้ จะเป็นเวกเตอร์เสมอ)
2) สมบัติการสลับที่
3) สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม
4) เอกลักษณ์การบวกของเวกเตอร์ คือ เวกเตอร์ศูนย์
ซึ่งเป็นเวกเตอร์ที่มีขนาด 0 หน่วย นั่นคือ
5) อินเวอร์สการบวกของเวกเตอร์ เขียนสัญลักษณ์ว่า
(หมายถึง เวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงกันข้ามกับเวกเตอร์ )
นั่นคือ
เราสามารถหาผลลบของเวกเตอร์ได้ โดยใช้หลักการเดียวกับการบวกเวกเตอร์
(สามารถใช้ได้ทั้งวิธีหัวต่อหาง หรือ วิธีหางต่อหาง ก็ได้)
โดยเราจะมอง ซึ่งก็คือ ผลบวกของ
และ
(เวกเตอร์ตรงข้ามของ
)
ตัวอย่าง กำหนดเวกเตอร์ ดังรูป
สามารถเขียนรูป เพื่อหาผลลบของได้ดังนี้
** มุม ระหว่าง
กับ
ต้องวัดระหว่างหางชนหางเสมอ และต้องมีขนาดไม่เกิน
**
ให้ เป็นสเกลาร์ และ
เป็นเวกเตอร์ ผลคูณของเวกเตอร์
ด้วยสเกลาร์
เป็นเวกเตอร์
เขียนแทนด้วย โดยที่
1) ถ้า จะได้ว่า
2) ถ้า จะได้ว่า
เป็นเวกเตอร์ที่มีทิศเดียวกันกับ
และมีขนาดเท่ากับ
3) ถ้า จะได้ว่า
เป็นเวกเตอร์ที่มีทิศตรงข้ามกับ
และมีขนาดเท่ากับ
ตัวอย่าง กำหนดเวกเตอร์ ดังรูป
จะได้ เวกเตอร์และ
เป็น ดังนี้
ทิศทางเดิม แต่ขนาดลดลงเหลือ 2 ใน 3 ของเวกเตอร์
ทิศตรงกันข้าม ขนาดเป็น 0.75 เท่าของเวกเตอร์
ให้ เป็นสเกลาร์ และ
เป็นเวกเตอร์ จะได้ว่า
1) เป็นเวกเตอร์
2) : สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม
3) และ
: สมบัติการแจกแจง
4)
กำหนดให้ และ
จะได้ว่า
1) ถ้า ขนานกับ
แล้ว จะมีจำนวนจริง
ซึ่ง
ที่ทำให้
โดยพิจารณาจากค่า ดังนี้
1.1) ถ้า ;
และ
จะขนานกัน และมีทิศทางเดียวกัน
1.2) ถ้า ;
และ
จะขนานกัน และมีทิศทางตรงกันข้าม
2) ถ้า ไม่ขนานกับ
และ
แล้ว
และ
ตัวอย่าง กำหนดให้ และ
จงหาค่าที่ทำให้
ขนานกับ
![]()
จากสมการ
จะได้ว่า![]()
เนื่องจากขนานกับ
แสดงว่า
![]()
นั่นคือแยกตัวประกอบได้
เพราะฉะนั้น![]()
จงหาค่าที่ทำให้
มีทิศทางเดียวกับ
จากสมการ
จะได้ว่า
จะพบว่า สัมประสิทธิ์หน้าเป็นค่าติดลบ
ดังนั้น ถ้ามีทิศทางเดียวกับ
ได้
สัมประสิทธิ์หน้าจะต้องติดลบด้วย
แสดงว่า![]()
นั่นคือ![]()
แยกตัวประกอบได้![]()
เพราะฉะนั้น![]()
ดังนั้น ค่า ที่ทำให้
มีทิศทางตรงข้ามกับ
คือ