เสียง: ความเข้มเสียง การสั่นพ้อง ดอปเปลอร์ (2)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

เสียง: ความเข้มเสียง การสั่นพ้อง ดอปเปลอร์ (2) (ชุดที่ 1) Pre test

MEDIUM

เสียง: ความเข้มเสียง การสั่นพ้อง ดอปเปลอร์ (2) (ชุดที่ 2) Post test

HARD

เสียง: ความเข้มเสียง การสั่นพ้อง ดอปเปลอร์ (2) (ชุดที่ 3) Post test

เนื้อหา

เสียง (2)

ปรากฎการณ์ของเสียง

  1. คลื่นนิ่ง (Standing wave): เกิดจากการแทรกสอดของคลื่นเสียงที่ตกกระทบ และสะท้อนจากตัวกลางทำให้เกิดเสียงดังค่อยสลับกันไป
  2. บีตส์ (Beat): เกิดจากจากการแทรกสอดของ 2 คลื่นเสียง ที่มีค่าความถี่ต่างกันเล็กน้อยและเคลื่อนที่อยู่ในแนวเดียวกันทำให้ค่าแอมพลิจูดเปลี่ยนไป ส่งผลให้เกิดเสียงดังเสียงค่อยสลับกัน
               ความถ ี่ บ ี สต ์ space equals space vertical line f subscript 1 space – space f subscript 2 space vertical line

         ความถ ี่ ของเส ี ยงบ ี สต ์ ท ี่ เราได ้ ย ิ น equals fraction numerator left parenthesis f subscript 1 plus f subscript 2 right parenthesis over denominator 2 end fraction
  3. การกำทอน หรือสั่นพ้อง (Resonance): เมื่อมีแรงภายนอกทำให้วัตถุสั่นหรือแกว่งด้วยความถี่กระตุ้นเท่ากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุนั้น จะทำให้วัตถุนั้นสั่นด้วยค่าแอมพลิจูดมากที่สุด
  4. ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ (Doppler effect): ความเร็วที่เทียบกันระหว่างความเร็วของผู้ฟังและแหล่งกำเนิดเสียง (ความเร็วสัมพัทธ์) ไม่เท่ากับศูนย์ ทำให้ผู้ฟังได้รับคลื่นเสียงความถี่ต่างไป
    เช่น เมื่อรถพยาบาลเคลื่อนที่มาสู่ผู้ฟัง จะเกิดเหตุการณ์ขึ้น 2 อย่าง
    • เสียงดังมากขึ้น เพราะความเข้มเสียงมากขึ้น I equals fraction numerator P over denominator 4 pi r squared end fraction space comma space I space alpha space 1 over r squaredไม่ใช่ Doppler Effect
    • เสียงแหลมขึ้น เพราะความถี่มากขึ้นเป็น Doppler Effect
    • ผู้ฟังจะเคลื่อนที่หรือไม่เคลื่อนที่ ก็ไม่มีผลต่อความยาวคลื่นเสียง
    • เมื่อแหล่งกำเนิดเคลื่อนที่

      lambda หน้ารถ จะสั้นลง       lambda subscript หน ้ ารถ equals fraction numerator v minus V s over denominator f subscript s end fraction
      lambda หลังรถ จะยาวขึ้น     lambda subscript หล ั งรถ space end subscript equals fraction numerator v plus V s over denominator f subscript s end fraction
      สมการทั่วไป  f subscript o b end subscript equals open square brackets fraction numerator v plus-or-minus v subscript o b end subscript over denominator v plus-or-minus v subscript s end fraction close square brackets f subscript s

      f subscript o b end subscript=ความถี่เสียงที่ปรากฏต่อผู้ฟัง
      f subscript s=ความถี่เสียงของแหล่งกำเนิด
      v=อัตราเร็วเสียงในอากาศ
      v subscript o b end subscript=อัตราเร็วของผู้ฟังเสียง
      v subscript s = อัตราเร็วของแหล่งกำเนิดเสียง
      -เคลื่อนที่เข้าหาแหล่งกำเนิดเสียง
       เพิ่มความถี่ (เครื่องหมาย +)
      -เคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิดเสียง
        หรือออกห่างแหล่งกำเนิดเสียงลดความถี่ (เครื่องหมาย -)
  5.  คลื่นกระแทก (Shock wave): เกิดจากแหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่เร็วกว่าอัตราเร็วเสียงในตัวกลาง
    • เมื่อแหล่งกำเนิดอยู่นิ่งจะให้กำเนิดหน้าคลื่นวงกลมออกมารอบตัว
    • เมื่อแหล่งกำเนิดเคลื่อนที่ หน้าคลื่นที่อยู่ด้านหน้าจะอยู่ชิดกันมากขึ้น ถ้าแหล่งกำเนิดมีอัตราเร็ว เท่ากับ อัตราเร็วคลื่น หน้าคลื่นทุกหน้าที่แผ่ออกมาจากแหล่งกำเนิดจะเคลื่อนที่ไปพร้อมกับแหล่งกำเนิด
    • เมื่อแหล่งกำเนิดคลื่นมีความเร็วมากกว่าคลื่นในตัวกลาง แหล่งกำเนิดจะเคลื่อนที่ผ่านพ้นหน้า คลื่นทุกหน้า ทำให้หน้าคลื่นอัดตัวซ้อนกันเป็นคลื่น “คลื่นกระแทก
      จากรูป                    sin theta equals v over v subscript s
       M a c h space N o space equals space ความเร ็ วแหล ่ งกำเน ิ ด over ความเร ็ วเส ี ยง
       M a c h space N o space equals space fraction numerator 1 over denominator sin theta end fraction
      สรุป               sin theta equals fraction numerator u over denominator V s end fraction equals fraction numerator 1 over denominator m a c h space N o end fraction

** คลื่นกระแทกที่เกิดจากคลื่นเสียง จะเกิดกับเครื่องบินที่มีความเร็วเหนือเสียง และบางครั้งจะเกิดเสียงที่ดังมากกว่า “sonic boom”