พิสัย = ค่าสูงสุดของข้อมูล - ค่าต่ำสุดของข้อมูล
หรือ พิสัย =
เมื่อ = ค่าสูงสุดของข้อมูล
= ค่าต่ำสุดของข้อมูล
พิสัย คือ ค่าที่ใช้วัดการกระจายที่ได้จากผลต่างของค่าสูงสุดกับค่าต่ำสุดของข้อมูล แบ่งการคิดออกเป็น 2 กรณี
ถ้า เป็นค่าของข้อมูลชุดหนึ่ง
พิสัย = ค่าสูงสุดของข้อมูล - ค่าต่ำสุดของข้อมูล
หรือ พิสัย =
เมื่อ = ค่าสูงสุดของข้อมูล
= ค่าต่ำสุดของข้อมูล
ตัวอย่าง ค่าสังเกตที่ได้จากข้อมูลชุดหนึ่งมีดังนี้
22 15 30 25 19 18 50 26 20 18
ตัวอย่าง ตารางต่อไปนี้แสดงการแจกแจงความถี่ของข้อมูลจำนวน 100 ข้อมูล
ค่าสังเกต
ความถี่
51 – 60
61 – 70
71 – 80
81 – 90
91 - 100
6
20
25
38
11
ขอบบนอันตรภาคชั้นของข้อมูลที่มีค่าสูงสุดคือ 100.5
ขอบล่างอันตรภาคชั้นของข้อมูลที่มีค่าต่ำสุดคือ 50.5
พิสัยของข้อมูลชุดนี้คือ 100.5 – 50.5 = 50
การวัดการกระจายโดยใช้พิสัยนี้เป็นวิธีวัดการกระจายอย่างคร่าวๆ เพราะค่าที่ได้หามาจากค่าของข้อมูลเพียงสองค่าเท่านั้น ค่าอื่นๆ ของข้อมูลไม่ได้นำมาใช้ในการคำนวณหาพิสัยเลย ดังนั้นถ้าค่าของข้อมูลค่าใดค่าหนึ่งมีค่ามากหรือน้อยผิดปกติจากค่าของข้อมูลอื่นๆ ก็อาจมีผลทำให้การวัดการกระจายโดยใช้พิสัยมีค่าสูงกว่าที่ควรจะเป็นจริงมาก การวัดการกระจายโดยใช้พิสัยมีข้อดีที่สามารถหาได้สะดวกและรวดเร็ว ส่วนใหญ่จึงมักใช้วัดการกระจายของข้อมูลในกรณีซึ่งไม่ต้องการความถูกต้องมากนัก
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ ค่าที่ใช้วัดการกระจายที่ได้จากการหารากที่สองของค่าเฉลี่ยกำลังสองของผลต่างระหว่างค่าของข้อมูลแต่ละค่า จากค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนั้น โดยใช้สัญลักษณ์ แทนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร และใช้สัญลักษณ์ s แทนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวอย่าง (โดยที่
เป็นตัวประมาณค่าของ
) การวัดการกระจายของข้อมูลโดยใช้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นวิธีที่นักสถิติยอมรับว่าเป็นวิธีที่ใช้วัดการกระจายได้ดีที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากการวัดการกระจายโดยวิธีนี้ใช้ข้อมูลทุกๆค่าหรือนำตัวแทนของข้อมูลทุกค่ามาคำนวณ การคำนวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานแบ่งเป็น 2 กรณีคือ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร | ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวอย่าง |
เมื่อ โดยที่ | เมื่อ โดยที่ |
ตัวอย่าง จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลต่อไปนี้ 5, 8, 19, 6, 7, 12, 10, 15
กรณีที่ข้อมูลที่กำหนดให้เป็นของทั้งกลุ่มประชากร
กรณีที่ข้อมูลที่กำหนดให้เป็นของตัวอย่างที่สุ่มจากประชากรกลุ่มหนึ่ง
วิธีทำ
วิธีทำ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร | ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวอย่าง |
เมื่อ | เมื่อ |
ตัวอย่าง จากตารางแจกแจงความถี่น้ำหนักของกลุ่มเด็กตัวอย่างจำนวน 100 คน เป็นดังนี้
น้ำหนัก (กิโลกรัม) | จำนวนเด็ก |
60 – 62 63 – 65 66 – 68 69 – 71 72 - 74 | 7 20 38 25 10 |
วิธีทำ จากสูตรสร้างตารางเพื่อการคำนวณ
| |||||