โดยอาศัยหลักการเกิดปฏิกิริยากันระหว่างสารละลายกรดและเบสที่ทำปฏิกิริยากันพอดี จากนั้น เมื่อเราทราบปริมาณของสารละลายมาตรฐานที่ใช้ในการไตเตรตสารละลาย
ตัวอย่างที่เราไม่ทราบความเข้มข้น เราจะสามารถคำนวณความเข้มข้นของสารละลายตัวอย่างได้ หากเราทราบปริมาตรที่แน่นอนของสkรละลายตัวอย่างนั้น
ข้อมูลที่ได้จากการไทเทรตที่จะใช้สำหรับการคิดคำนวณหาปริมาณสารที่ต้องการวิเคราะห์ ส่วนมากจะประกอบด้วย
จากนั้น นักเรียนจะสามารถหาความเข้มข้นของสารละลายตัวอย่างที่ไม่ทราบความเข้มข้นได้ จาก สัดส่วน โดยโมลของสารระหว่างกรดและเบส
หากโจทย์ต้องการให้นักเรียน คำนวณค่า pH หรือ pOH ที่จุดสมมูล
นักเรียนต้องพิจารณาว่า ที่ปฏิกิริยานั้นๆ เกิดจากการทำปฏิกิริยากันระหว่างกรดกับเบสชนิดใด และผลิตภัณฑ์ที่ได้เป็นเกลือชนิดใด เกลือชนิดนั้นๆ สามารถเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ได้หรือไม่?
วิคราะห์โจทย์
เนื่องจาก สารละลายกรดที่ไม่ทราบความเข้มข้น มีลักษณะเป็นโมโนโพรติก แตกตัวได้เพียงครั้งเดียว
ดังนั้น สัดส่วนโมลที่ใช้ในการทำปฏิกิริยาระหว่างกรดและเบส คือ 1:1
เพราะฉะนั้น สารละลายกรดชนิดนี้ มีความเข้มข้นเท่ากับ 0.066 M
วิเคราะห์โจทย์
แนวทางการคำนวณ
เพราะฉะนั้น สารละลายกรดอะซีติกนี้ มีความเข้มข้นเท่ากับ 0.1 M
pH ที่จุดสมมูล หาได้จากปริมาณ [OH-] ที่เกิดขึ้นผ่านกระบวนการไฮโดรไลซิสของเกลือ