(แตกตัว 100%)
CH3COO- + H2O
ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส
เนื่องจากเกิดการแตกตัวได้ 100% ทำให้อยู่ในรูปของไอออนบวกและไอออนลบที่เป็นองค์ประกอบ และมีผลต่อสมบัติของเกลือดังกล่าว ทำให้เกลือไม่ได้มีสมบัติที่เป็นกลางเสมอไป อาจมีสมบัติเป็นกรดหรือเบส ทั้งนี้เนื่องจาก ไอออนบวกหรือไอออนลบที่มาจากเบสอ่อนหรือกรดอ่อนสามารถเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับน้ำได้
โดยทั่วไปสามารถทำนายความเป็นกรด-เบสของเกลือได้จาก การเปรียบเทียบความแรงของกรดและเบสที่เข้าทำปฏิกิริยาจนได้เกลือ ดังนี้
ถ้าละลายน้ำ สารละลายจะมีสมบัติเป็นกลาง เนื่องจากไอออนบวกและไอออนลบที่มาจากการแตกตัวของเกลือไม่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสกับน้ำ ทำให้ pH ของสารละลายเท่ากับ 7 เช่น NaCl และ NaNO4 เป็นต้น
ถ้าละลายน้ำ สารละลายจะมีสมบัติเป็นเบส เนื่องจากไอออนลบที่มาจากการแตกตัวของเกลือเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ได้ OH- ทำให้ pH ของสารละลายมากกว่า 7 เช่น CH3COONa และ KNO2 เป็นต้น
ปฏิกิริยาแสดงการแตกตัวของเกลือ และการเกิดไฮโดรไลซิสของไอออนลบจากกรดอ่อน
แสดงดังนี้ คือ
ถ้าละลายน้ำ สารละลายจะมีสมบัติเป็นกรด เนื่องจากไอออนบวกที่มาจากการแตกตัวของเกลือเกิดเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ได้ H3O+ ทำให้ pH ของสารละลายน้อยกว่า 7 เช่น NH4Cl และ NH4NO3 เป็นต้น ปฏิกิริยาแสดงการแตกตัวของเกลือ และการเกิดไฮโดรไลซิสของไอออนบวกจากเบสอ่อน
แสดงดังนี้คือ
ถ้าละลายน้ำ สารละลายจะมีสมบัติกรดหรือเบสขึ้นกับปฏิริยาไฮโดรไลซิสของไอออนบวกและลบที่มาแตกตัวของเกลือ เช่น CH3COONH4 และ (NH2)CO3 เป็นต้น โดยเปรียบเทียบค่า Ka และ Kb ของปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสที่เกิดขึ้น ตัวอย่างของปฏิกิริยาการแตกตัวของเกลือและการเกิดไฮโดรไลซิส การเปรียบเทียบค่า Ka และ Kb
แสดงดังนี้คือ
เมื่อพิจารณาค่า Kb และ Ka ดังกล่าว มีค่าเท่ากัน ทำให้มีสมบัติเป็นกลาง
เมื่อพิจารค่า Kb และ Ka ดังกล่าว พบว่า ค่า Kb > Ka ดังนั้นสารละลาย (NH4)2CO3 มีสมบัติเป็นเบส
นอกจากเกลือที่ได้จากปฏิกิริยากรด-เบส ทั้ง 4 แบบ แล้ว
เมื่อละลายน้ำจะได้สารละลายที่มีสมบัติเป็นกรด เช่น AlCl3 เมื่อละลายน้ำ Al3+ จะถูกน้ำล้อมรอบ เกิดเป็น [Al(H2O)6]2+ จะเกิดปฏิกิริยาแตกตัวต่อ
ดังนี้