บทนำ การวัด ความคลาดเคลื่อน เวกเตอร์ (2)

ยอดวิว 0

แบบฝึกหัด

EASY

บทนำ การวัด ความคลาดเคลื่อน เวกเตอร์ (2) (ชุดที่ 1)

MEDIUM

บทนำ การวัด ความคลาดเคลื่อน เวกเตอร์ (2) (ชุดที่ 2)

HARD

บทนำ การวัด ความคลาดเคลื่อน เวกเตอร์ (2) (ชุดที่ 3)

เนื้อหา

เวกเตอร์

ปริมาณกายภาพแบ่งออกได้ 2 ประเภท

  1. ปริมาณสเกลาร์ คือ ปริมาณที่บอกขนาดเพียงอย่างเดียวก็ได้ความหมายสมบูรณ์ เช่น ระยะทาง อัตราเร็ว มวล เวลา ปริมาตร ความหนาแน่น อุณหภูมิ งาน พลังงาน กระแสไฟฟ้า เป็นต้น การหาผลลัพธ์ใช้การ บวก ลบ คูณ หาร กันแบบธรรมดา
  2. ปริมาณเวกเตอร์ คือ ปริมาณที่ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะได้ความหมายสมบูรณ์ เช่น การกระจัด ความเร่ง ความเร็ว แรง โมเมนตัม สนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก เป็นต้น การหาผลลัพธ์ ต้องอาศัยวิธีการทางเวคเตอร์ โดยต้องหาผลลัพธ์ทั้งขนาดและทิศทาง
    • เวกเตอร์ที่เท่ากัน คือเท่ากันทั้งขนาดและทิศทาง 
    • เวกเตอร์ที่ตรงข้ามกัน คือ เวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากันแต่ทิศตรงกันข้าม โดยเมื่อ A with rightwards arrow on top plus open parentheses negative A with rightwards arrow on top close parentheses equals 0


การรวมเวกเตอร์

การรวมเวกเตอร์สามารถทำได้โดยการวาดรูป และการคำนวณ

  • วิธีการวาดรูป (แบบหางต่อหัว) ทำได้โดยนำหางของเวกเตอร์ตัวที่สองมาต่อกับเวกเตอร์ตัวแรกดังรูป


    เช่น  A with rightwards arrow on top plus B with rightwards arrow on top equals space C with rightwards arrow on top



  • วิธีการคำนวณ เมื่อเวกเตอร์ทำมุมกัน 90 degree จะใช้หลักของปีทากอรัสเข้ามาช่วยในการคำนวณ

     
    R equals square root of A squared plus B squared end root
tan theta equals B over A space semicolon space theta equals tan to the power of negative 1 end exponent open parentheses B over A close parentheses

เมื่อเวกเตอร์ทำมุมใดๆ
เมื่อนำหางของเวกเตอร์ตัวที่สองต่อที่หัวของเวกเตอร์ตัวแรก โดยที่เวกเตอร์ลัพธ์คือ เส้นตรงที่ลากจากหางของเวกเตอร์ตัวแรกไปสิ้นสุดที่หัวเวกเตอร์ตัวที่สอง

           R equals square root of A squared plus B squared minus 2 A B cos alpha end root
tan theta equals space space fraction numerator B space sin theta over denominator A plus B space cos theta end fraction

การรวมเวกเตอร์แบบแยกตัวประกอบ ในแนวแกน X และแกน Y เมื่อมีเวกเตอร์ย่อยตั้งแต่ 2 เวกเตอร์ขึ้นไปและรวมกันโดยการหาผลรวมเวกเตอร์แกน X และผลรวมของเวกเตอร์แกน Y


               R subscript y equals R sin theta
R subscript x equals R cos theta

เวกเตอร์ลัพธ์คือ

               R equals square root of R subscript x superscript 2 plus R subscript y superscript 2 end root

Graph analysis

การหาความชันของกราฟ 
ความชัน (slope) คือการพิจารณาความลาดเอียงของเส้นตรง ซึ่งมีสมการคือ
S l o p e equals fraction numerator increment y over denominator increment x end fraction equals fraction numerator y subscript 2 minus y subscript 1 over denominator x subscript 2 minus x subscript 1 end fraction equals fraction numerator y subscript 1 minus y subscript 2 over denominator x subscript 1 minus x subscript 2 end fraction

ใช้จุดพิกัด x,y ที่อยู่บนเส้นตรง 2 จุด เพื่อพิจารณาความชัน 
** การหาความชันกล่าวได้ว่าคือการทำ ปริมาณในแกนY หารด้วย ปริมาณในแกนx 
การหาพื้นที่ใต้กราฟ
พื้นที่ใต้กราฟ คือ การพิจารณาปริมาณที่นำ แกน y มาคูณกับ แกน x ผ่านสมการการหาพื้นที่

ส่วนที่แรงเงา คือพื้นที่ ที่อยู่ใต้กราฟ ใช้สมการการหาพื้นที่ใด้ 
ส่วนแรก คือพื้นที่ สี่เหลี่ยมคางหมู equals 1 half cross times left parenthesis ผลบวกของด ้ านค ู่ ขนาด right parenthesis cross times ความส ู ง
ส่วนที่สอง คือพื้นที่สามเหลี่ยม equals 1 half cross times ส ู ง cross times ฐาน ซึ่งเป็นส่วนที่อยู่ในกราฟ -y ก็จะได้ขนาดของพื้นที่เป็นลบ